Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/30170
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | โดม ไกรประกรณ์ | - |
dc.date.accessioned | 2024-02-14T06:53:58Z | - |
dc.date.available | 2024-02-14T06:53:58Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://so19.tci-thaijo.org/index.php/JOH/article/view/170/96 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/30170 | - |
dc.description.abstract | This research aims to study the history of Otaku, a group of people who consume interests, particularly in anime, manga, pop music, cosplay and Japanese idols in Thai society. Those are defined as cultural marginalized people. It focuses on a case study of manga fans and aims to study 3 objectives (1) to explain the meaning and story of “Otaku” in Thai society, (2) to explain the process of turning “Otaku” to be “cultural marginalized people”, (3) to explain the social spaces where Otaku communicated, negotiated and represented themselves in one way. This research is also conducted by historical methods to analyze texts, such as magazines, newspaper, books, thesis and websites, with the concepts of Sociology and Anthropology to analyze those texts. The findings are that when Japanese comics came to Thai society, the favorite consumption of manga fans were resisted by a group of people creating the mainstream discourse that reading manga was nonsensical and disgusting. As a result, the manga fans were defined as “Cultural Marginalized People.” In this situation, the people who obsessed with Otaku cultures and private businesses relating to the translation of Japanese comic to Thai language created social spaces such as activities and online platforms for Thai people who favored Otaku subcultures. They could meet, do activities and present their own identity in order to negotiate with the mainstream society which expelled them and described them as “cultural marginalized people.” | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.subject | โอติาคุ | - |
dc.subject | การ์ตูนญี่ปุ่น | - |
dc.subject | คนชายขอบทางวัฒนธรรม | - |
dc.subject | Otaku | - |
dc.subject | Manga | - |
dc.subject | cultural marginalized people | - |
dc.title | โอตาคุ (Otaku) ในสังคมไทย: ประวัติศาสตร์การกลายเป็นคนชายขอบทางวัฒนธรรมของผู้ชื่นชอบการ์ตูนญี่ปุ่น ในช่วงทศวรรษ 2510 ถึงทศวรรษ 2550 | - |
dc.title.alternative | Otaku in Thai Society: The History of “Cultural Marginalized People” in A Case Study of Manga Fans in the 1970s and the 2010s | - |
dc.type | Article | - |
dc.identifier.bibliograpycitation | วารสารประวัติศาสตร์ มศว , ปีที่ 47 ฉบับที่ 1 (2565) | - |
dc.description.abstractthai | บทความวิจัยนี้ศึกษาประวัติศาสตร์ของ “โอตาคุ” (กลุ่มผู้ชื่นชอบบริโภคการ์ตูน วิดีโอเกม เพลงสมัยนิยมและศิลปินไอดอลญี่ปุ่น การแต่งคอสเพลย์) ในสังคมไทย ซึ่งถูกทำให้เป็น “คนชายขอบทางวัฒนธรรม” (cultural marginalized people) จากกรณีศึกษาผู้ชื่นชอบการ์ตูน โดยมีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1. อธิบายความหมายและความเป็นมาของ “โอตาคุ” ในสังคมไทย 2. อธิบายกระบวนการที่ “โอตาคุ” ถูกทำให้เป็น “คนชายขอบทางวัฒนธรรม” 3. อธิบายถึงการสร้างพื้นที่ทางสังคม (social space) ของโอตาคุที่ใช้ในการสื่อสาร ต่อรอง แสดงตัวตน ในอีกมุมหนึ่ง บทความนี้ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการวิเคราะห์ตัวบท (text) เช่น นิตยสาร หนังสือพิมพ์ หนังสือ วิทยานิพนธ์ เว็บไซต์ต่าง ๆ ประกอบกับการนำเอาแนวคิดทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามาประยุกต์ใช้ในการตีความข้อมูล จากการศึกษาพบว่า นับตั้งแต่การ์ตูนญี่ปุ่นเข้ามาในสังคมไทย การบริโภคการ์ตูนญี่ปุ่นด้วยความชื่นชอบได้ถูกต่อต้านผ่านวาทกรรมกระแสหลักว่าการ์ตูนเป็นสิ่งไร้สาระ สิ่งเลวร้าย ทำให้ผู้ที่ชื่นชอบการ์ตูนมีสถานะเป็น “คนชายขอบทางวัฒนธรรม” ในสถานการณ์ดังกล่าวนี้ผู้ที่ชื่นชอบการ์ตูนและธุรกิจเอกชนเกี่ยวข้องการ์ตูนญี่ปุ่นแปลไทยได้สร้างพื้นที่ทางสังคมในรูปแบบของกิจกรรมและพื้นที่ออนไลน์ให้ผู้ที่ชื่นชอบวัฒนธรรมโอตาคุได้พบปะ ทำกิจกรรมร่วมกัน แสดงถึงอัตลักษณ์ (identy) ของตนเพื่อต่อรองกับกระแสสังคมที่เบียดขับให้พวกตนเป็น “คนชายขอบทางวัฒนธรรม” | - |
Appears in Collections: | His-Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.