Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29753
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เพ็ชรัตน์ ไสยสมบัติ | |
dc.contributor.author | ดลฤดี สุวรรณคีรี | |
dc.date.accessioned | 2024-01-08T10:38:06Z | - |
dc.date.available | 2024-01-08T10:38:06Z | - |
dc.date.issued | 2565 | |
dc.identifier.uri | https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jmbr/article/view/256999 | |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29753 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to contrastive study in adaptation's methods of the elderly during a COVID-19 pandemic in Thailand and foreign countries and to study problems and obstacles of the elderly in self adaptation during a pandemic in Thailand. This study used the mixed method research. By quantitative research, data was collected by a questionnaires and analyzed by Logistic Regression Analysis to explain the relations between the elderly's adaptation and the personal factors. For qualitative research, a documentary research was applied for understanding of policies and measure implemented in foreign countries about the elderly's adaptation. As for interviewing, 5 elders were interviewed to see their adaptation thereof. The findings are that 99 percent of the elderly were informed about COVID-19 through television. This might be confirmation that the appropriate way to get information about the pandemic to elderly people would be via television. Moreover, the study found the association between age, educational level, and effects from the measure and the elderly's adaptation. The qualitative research from documentary reviews found that the elderly's adaptation in Japan, Korea, Singapore, Vietnam, and Thailand was different depending on contexts of society, culture, politics, economy, and technology. Every country brought technology to be used as a transmission media in order to reduce interpersonal contact, viral transmission, and outing activities and imposed the policy of economic remedial assistance to indemnify against the loss of income and health cares in order to control the epidemic. For the elderly cluster in Thailand, according to the interviews, found that they confronted troubles of employment and loss income which would like the government to help with the employment and money subsidy. | |
dc.subject | การปรับตัว | |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | |
dc.subject | โควิด-19 | |
dc.subject | Adaptation | |
dc.subject | Elderly, Covid-19 | |
dc.title | การปรับตัวของผู้สูงอายุภายใต้สถานการณ์โควิด -19 | |
dc.title.alternative | THE ADAPTATION OF ELDERLY DURING COVID-19 PANDEMIC | |
dc.type | Article | |
dc.identifier.bibliograpycitation | วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์. ปีที่7 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม–กันยายน2565) | |
dc.description.abstractthai | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบวิธีการปรับตัวของผู้สูงอายุภายใต้สถานการณ์โควิด-19 ในประเทศไทยและต่างประเทศ และศึกษาปัญหาอุปสรรคของผู้สูงอายุในการปรับตัวภายใต้สถานการณ์ดังกล่าวในประเทศไทย เป็นการวิจัยแบบผสาน โดยการวิจัยเชิงปริมาณเป็นการเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามและวิเคราะห์ด้วยการถดถอยโลจิสติกทวิภาคเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการปรับตัวกับปัจจัยส่วนบุคคล ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลผ่านการวิจัยเอกสารเพื่อทำความเข้าใจการปรับตัวของผู้สูงอายุในต่างประเทศ และสัมภาษณ์ผู้สูงอายุในประเทศจำนวน 5 คน เพื่อดูการปรับตัวในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ผลการศึกษาพบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 99 รับทราบถึงการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ครั้งล่าสุด (ระลอกที่ 3 จากสื่อโทรทัศน์และข้อมูลข่าวสารรอบตัว อาจกล่าวได้ว่าการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อโทรทัศน์อาจเป็นช่องทางการสื่อสารและการกระจายข้อมูลที่ดีและเหมาะสมให้กับผู้สูงอายุ และเมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ กับการปรับตัวพบว่า อายุ ระดับการศึกษา และผลกระทบจากมาตรการมีผลต่อการปรับตัวของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในเชิงคุณภาพ จากการศึกษาเอกสารพบว่าการปรับตัวของผู้สูงอายุในประเทศญี่ปุ่น เกาหลี สิงคโปร์ เวียดนาม และไทย มีความแตกต่างกันตามบริบททางสังคม วัฒนธรรม การเมือง เศรษฐกิจ และเทคโนโลยี โดยทุกประเทศมีการนำเทคโนโลยีมาเป็นสื่อกลางในการลดช่องทางในการติดต่อและลดการแพร่กระจายของเชื้อ และมีนโยบายเยียวยาด้านเศรษฐกิจเพื่อชดเชยรายได้และการดูแลสุขภาพ สำหรับข้อมูลจากการสัมภาษณ์พบว่า ผู้สูงอายุในไทยประสบปัญหาด้านการทำงานและรายได้ที่สูญเสีย ซึ่งต้องการให้ภาครัฐช่วยเหลือด้านการทำงานและเงินสนับสนุน | |
Appears in Collections: | Soc-Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.