Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29736
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | จารุวรรณ ขำเพชร | |
dc.date.accessioned | 2024-01-08T08:37:31Z | - |
dc.date.available | 2024-01-08T08:37:31Z | - |
dc.date.issued | 2565 | |
dc.identifier.uri | https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/260022 | |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29736 | - |
dc.description.abstract | The Objectives of this research article were to 1) to observe and 2) to evaluate the quality of public spaces in Bangkok to develop the space into distribution area of community enterprise products under the creative economy concept. The study methods are 1) from documents related to Bangkok’s space, commercial enterprise products, concept, and research on urban and public space management and 2) from field study at district offices, nominated public spaces to be zone and district representatives by district offices, the use of survey and assessment to assort spaces according to theory concept, in-depth interview with related parties to governmental sector’s spaces management, district director and representative from 10 districts, 10 groups of community enterprise operators, workshop with 150 participants residing in Bangkok to raise the issue and solution of community products The result finds that 1) public spaces are under the management of Treasury Department, State Railway of Thailand, Expressway Authority of Thailand, and private owners. The acquisition of public space to sell goods must be in accordance with the rules for using the space. The further development of space to increase income in accordance with creative economy has been evaluated based on the concept of space, commercial enterprise and creative economy. The area in the inner Bangkok has been certified as commercial and investment promotion zone. The result also finds that 2) the quality assessment of public space to develop into community enterprise product distribution area is conducted together with districts through workshop and field observation. The assessment concludes and proposes SWU area to sell community enterprise goods and be called Night Market. The data analysis is done by describing the contents together with the theoretical concept and field data. | |
dc.subject | พื้นที่ว่างสาธารณะ | |
dc.subject | ผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชน | |
dc.subject | ไนท์มาร์เก็ต | |
dc.subject | Public Space | |
dc.subject | Community Enterprise Products | |
dc.subject | Night Market | |
dc.title | การศึกษาพื้นที่ว่างสาธารณะในกรุงเทพมหานครเพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่ จัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ | |
dc.title.alternative | A STUDY OF PUBLIC SPACES IN BANGKOK TO DEVELOP AS A DISTRIBUTION AREA FOR COMMUNITY ENTERPRISE PRODUCTS UNDER THE CREATIVE ECONOMY CONCEPT | |
dc.type | Article | |
dc.identifier.bibliograpycitation | วารสารมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. ปีที่ 7 ฉบับที่ 7 (2022): กรกฎาคม 2565 | |
dc.description.abstractthai | บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ดังนี้ 1) เพื่อสำรวจพื้นที่ว่างสาธารณะในกรุงเทพมหานครเพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่จัดจำหน่ายสินค้าวิสาหกิจชุมชนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 2) เพื่อประเมินคุณภาพของพื้นที่ว่างสาธารณะเพื่อพัฒนาเป็นพื้นที่จัดจำหน่ายสินค้าวิสาหกิจชุมชนภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยมีวิธีการศึกษา คือ 1) เอกสารเกี่ยวกับพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร สินค้าวิสาหกิจชุมชน แนวคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเมืองและพื้นที่สาธารณะ 2) การศึกษาภาคสนาม การลงพื้นที่สำนักงานเขต และลงพื้นที่ที่ได้รับการเสนอชื่อจากสำนักงานเขตให้เป็นตัวแทนกลุ่มโซนและเขต การใช้แบบสำรวจและแบบประเมินในการคัดสรรพื้นที่ว่างตามแนวคิดทฤษฎี การสัมภาษณ์เจาะลึกกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ผู้อำนวยการเขตหรือผู้แทนของสำนักงานเขตรวม 10 เขต ผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนจำนวน 10 กลุ่ม การประชุมเชิงปฎิบัติการร่วมกับกรุงเทพมหานครจำนวน 150 คนเพื่อเสนอปัญหาและทางออกของสินค้าชุมชน ผลการวิจัยพบว่า 1) สถานะของพื้นที่ประกอบด้วยพื้นที่ของกรมธนารักษ์ พื้นที่การรถไฟแห่งประเทศไทย พื้นที่การทางพิเศษแห่งประเทศไทยและพื้นที่เอกชน การได้มาของพื้นที่ว่างสาธารณะ การนำพื้นที่มาต่อยอดเพื่อสร้างรายได้ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ได้ผ่านกระบวนการประเมินตามแนวคิดเรื่องพื้นที่ วิสาหกิจชุมชนและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พื้นที่อยู่ในเขตกรุงเทพชั้นในที่ได้รับการรับรองเป็นเขตพาณิชยกรรมและส่งเสริมการลงทุน 2) การ ประเมินคุณภาพของพื้นที่ว่างสาธารณะ จากการคัดสรรพื้นที่ผ่านแบบประเมิน ร่วมกับเขต การประชุมเชิงปฎิบัติการ การลงสำรวจพื้นที่เป้าหมาย ได้ข้อสรุปเสนอพื้นที่ของ มศว เพื่อจำหน่ายสินค้าวิสาหกิจชุมชนที่มีชื่อว่า Night Market การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการการพรรณนาความจากเนื้อหาร่วมกับแนวคิดทฤษฎี และข้อมูลภาคสนาม | |
Appears in Collections: | Soc-Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.