Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29720
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเกรียงศักดิ์ วิเลปะนะ
dc.contributor.authorชลวิทย์ เจียรจิตต์
dc.contributor.authorภูมิ มูลศิลป์
dc.date.accessioned2024-01-08T04:34:30Z-
dc.date.available2024-01-08T04:34:30Z-
dc.date.issued2566
dc.identifier.urihttps://so06.tci-thaijo.org/index.php/JSC/article/view/264122
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29720-
dc.description.abstractThis research aimed to 1) study the factors leading to successful business management for a large-scale Gros Michel banana enterprise group and 2) develop a successful business management model for a large-scale Gros Michel banana enterprise group in Sukpaiboon Subdistrict, Soeng Sang District, Nakhon Ratchasima Province. The study employed mixed methods research using quantitative data collection via a questionnaire distributed to 100 community enterprise members who were selected by purposive sampling. Data analysis utilized descriptive statistics were mean and standard deviation (S.D.). Qualitative data were collected from 10 key informants who were stakeholders in the community enterprise using semi-structured interviews and analyzed by content analysis. Research findings indicated that 1) all success factors of business management for a large-scale Gros Michel banana enterprise group were at a high level (mean = 3.97-4.15, S.D. = 0.63-0.78). The key factors leading to successful enterprise were existing knowledge, skills, and experience sharing among community enterprise members; a well-defined enterprise management system; and knowledge transfer using modern technology in conjunction with support from government agencies as well as effective business partners in a price guarantee scheme; and 2) successful business management for a large-scale Gros Michel banana enterprise group observed key principles of knowledge building: Collaboration (C) with external organizations, including knowledge development; Management (M), covering enterprise system management and area development; and Network (N), focusing on study and expansion of plantation areas.
dc.subjectวิสาหกิจชุมชน
dc.subjectการบริหารวิสาหกิจชุมชน
dc.subjectรูปแบบการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน
dc.subjectcommunity enterprise
dc.subjectcommunity enterprise management
dc.subjectcommunity enterprise management model
dc.titleรูปแบบการบริหารจัดการที่ประสบความสำเร็จของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน กล้วยหอมทองแปลงใหญ่ ตำบลสุขไพบูลย์ อำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา
dc.title.alternativeSUCCESSFUL MANAGEMENT MODEL OF A LARGE-SCALE GROS MICHEL BANANA COMMUNITY ENTERPRISE GROUP IN SUKPAIBOON SUBDISTRICT, SOENG SANG DISTRICT, NAKHON RATCHASIMA PROVINCE
dc.typeArticle
dc.identifier.bibliograpycitationวารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 (2023): พฤษภาคม 2566
dc.description.abstractthaiบทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยของการบริหารจัดการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จของกลุ่มวิสาหกิจกล้วยหอมทองแปลงใหญ่ และ 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จของกลุ่มวิสาหกิจกล้วยหอมทองแปลงใหญ่ ตำบลสุขไพบูลย์ อำเภอเสิงสาง จังหวัดนครราชสีมา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธีที่มีการเก็บข้อมูลทั้งข้อมูลเชิงปริมาณจากสมาชิกวิสาหกิจชุมชน จำนวน 100 คน ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง แล้วเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายคือค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตฐาน (S.D.) ส่วนการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพเก็บจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญซึ่งถือเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในวิสาหกิจชุมชน จำนวน 10 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยความสำเร็จของกลุ่มวิสาหกิจกล้วยหอมทองแปลงใหญ่มีความสำเร็จในระดับมากทุกปัจจัย (Mean = 3.97-4.15, S.D.=0.63-0.78) โดยมีปัจจัยสำคัญที่ช่วยหนุนเสริมให้วิสาหกิจประสบความสำเร็จ คือ สมาชิกในวิสาหกิจชุมชนนำความรู้ความสามารถและประสบการณ์เดิมของตนมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การบริหารงานของวิสาหกิจมีระบบที่ชัดเจน การถ่ายโอนความรู้ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ร่มกับการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐ และบริษัทคู่ค้าที่มีประสิทธิภาพช่วยในการประกันราคา 2) การบริหารจัดการธุรกิจที่ประสบความสำเร็จของกลุ่มวิสาหกิจกล้วยหอมทองแปลงใหญ่ใช้หลักการสำคัญ คือ การสร้างองค์ความรู้ (Collaboration: C) ประสานงานองค์กรภายนอกและร่วมมือพัฒนาองค์ความรู้ การบริหารจัดการ (Management: M) สร้างระบบการบริหารและการจัดการวิสาหกิจ และ การพัฒนาพื้นที่ (Network: N) มุ่งเน้นการศึกษาและขยายพื้นที่การเพาะปลูก
Appears in Collections:Soc-Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.