Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29708
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิริพร ปัญญาเมธีกุล-
dc.date.accessioned2024-01-04T07:00:11Z-
dc.date.available2024-01-04T07:00:11Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://rs.mfu.ac.th/ojs/index.php/vacana/article/view/205-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29708-
dc.description.abstractCommunication through the application Line is a very popular in Thailand since it is like talking face to face. However, the ease of communication sometimes leads to misunderstandings. In this research, we analyze the causes of misunderstanding in communication through the application Line. Data were collected from 100 participants who complete a questionnaire. The framework of Bazzanella & Damiano (1999) was used to analyze the data and to construct a questionnaire. The analysis shows that the major cause of misunderstandings was due to incomplete reading, skipping messages and wrong interpretation of communication. We found that the only difference between genders was that males put more importance on misunderstandings caused by the incomplete reading of the text and skipping messages than did females.-
dc.subjectความเข้าใจไม่ตรงกัน-
dc.subjectการปฏิสัมพันธ์-
dc.subjectการสื่อสารผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์-
dc.subjectMisunderstandings-
dc.subjectInteraction-
dc.subjectMessaging Application LINE-
dc.titleความเข้าใจไม่ตรงกันในการสื่อสารผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์-
dc.typeArticle-
dc.identifier.bibliograpycitationวารสารวจนะ. Vol 7, No 1 (2019)-
dc.description.abstractthaiการสื่อสารผ่านแอบพลิเคชั่นไลน์เป็นการสื่อสารที่นิยมมากในประเทศไทย เนื่องจากเป็นการ สื่อสารที่ผู้สนทนาสามารถพูดคุยได้เสมือนเห็นหน้ากัน แต่อย่างไรก็ตาม ความสะดวกรวดเร็วในการ สนทนาทำให้เกิดความเข้าใจไม่ตรงกันเกิดขึ้น ในงานวิจัยนี้จึงทำการวิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความ เข้าใจไม่ตรงกันในการสื่อสารผ่านแอปพลิเคชั่นไลน์ โดยเก็บข้อมูลจากผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 100 คน และใช้แนวคิดความเข้าใจไม่ตรงกันของบาซซาเนลล่าและดามิอาโน (Bazzanella & Damiano. 1999) ในการวิเคราะห์ข้อมูลและสร้างแบบสอบถาม ผลการวิเคราะห์พบว่าสาเหตุ สำคัญของการเข้าใจไม่ตรงกันเกิดจากการอ่านข้อความไม่ครบถ้วน อ่านข้ามข้อความ และการตีความหมายในการสื่อสารผิด นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์พบความต่างเพียงข้อเดียวที่มีความสัมพันธ์กับเพศ คือ เพศชายให้ความสำคัญกับความเข้าใจไม่ตรงกันที่เกิดจากการอ่านข้อความไม่ครบถ้วน อ่านข้ามข้อความมากกว่าเพศหญิงเป็นพิเศษ-
Appears in Collections:Ling-Journal articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.