Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29619
Title: การพัฒนาระบบการจัดการวัตถุดิบคงคลังสำหรับการผลิตอ่างล้างจานโดยใช้คิวอาร์โค้ด
Other Titles: Development of inventory management system for sink manufacturing by using QR code
Advisor : ณัฐพงษ์ คงประเสริฐ
Authors: ชนัญชิดา สงวนยวง
Keywords: การจัดการวัตถุดิบคงคลัง
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
คิวอาร์โค้ด
Issue Date: 2562
Publisher: สาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Abstract(TH): การควบคุมวัตถุดิบจำเป็นต้องมีการจัดการวัตถุดิบคงคลังที่มีคุณภาพ เนื่องจากเมื่อไม่มีการทำให้ข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ทำให้ยากต่อการติดตามและตรวจสอบจำนวนของวัตถุดิบ ส่งผลให้เกิดปัญหาการเลือกใช้วัตถุดิบไม่ตรงกับที่กำหนดในการสั่งซื้อของลูกค้า และข้อมูลของวัตถุดิบคงเหลือไม่เป็นปัจจุบัน จากปัญหาข้างต้นพบว่าสาเหตุเกิดจากความผิดพลาดของผู้ปฏิบัติงาน ข้อมูลวัตถุดิบคงเหลือไม่เป็นปัจจุบัน และเมื่อเกิดข้อผิดพลาดทำให้ไม่สามารถตรวจสอบได้ โครงงานนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการวัตถุดิบคงคลัง โดยพัฒนาระบบสารสนเทศด้วยวงจรพัฒนาระบบ ซึ่งได้แก่ ระบบการเลือกใช้วัตถุดิบตามใบสั่งผลิตในรูปแบบโมบายแอปพลิเคชันโดยใช้คิวอาร์โค้ด จากนั้นได้ทดสอบระบบสารสนเทศดังกล่าว และประเมินประสิทธิภาพ พบว่ามีการแสดงผลวัตถุดิบที่ต้องการใช้ถูกต้องแม่นยำมากขึ้น สามารถตรวจสอบข้อมูลได้ทันที ข้อมูลวัตถุดิบคงเหลือในระบบข้อมูลเป็นปัจจุบัน และเกิดข้อผิดพลาดน้อยลง
Abstract: Inventory management is a necessary for raw material control because of disconnection of up to date information, it is difficult for tracking and check the amount of raw materials. From the fact that manual handling, may cause human error, and raw material information in production specification is not up to date which may affect the incorrect customer order, and transmission data delay between two stations affect the access to up to date raw material information. This project has used system development life cycle (SDLC) process as a tool for designing the proposed application of inventory management information system (MIS) . Include raw material selection system according to production order of a mobile application using QR code. Then test information system and assess efficiency. The results showed that the raw material to be used that more accurate, be able to check and trace raw material selection and raw material information is up to date and less errors occur.
URI: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29619
Appears in Collections:IndEng-Bachelor's Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Chananchida_S.pdf
  Restricted Access
4.4 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.