Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29044
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิชญา ชัยปัญญา | th_TH |
dc.contributor.advisor | คณิศร์ มาตรา | th_TH |
dc.contributor.author | สุภาพร จอมกลาง | th_TH |
dc.contributor.author | นัยน์ภัคภรณ์ พิณศิริ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-06T09:14:46Z | - |
dc.date.available | 2023-11-06T09:14:46Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29044 | - |
dc.description.abstract | This engineering project is to study the influence of plasma antenna shape on antenna frequency and radiation patterns. It will focus on the study of plasma antennas using lamps to study how the shape changes affect the plasma antenna. It was found that different frequency can be operated when use different shape of lamps. In addition, changing the input power to all bulb shapes, with the minimum power input of 0 watts and the maximum power of 60 watts, the frequency is shifted 90, 60, 20 and 60 MHz. Therefore, if feed different power inputs to the same bulb shape, the frequency of the antenna will change. | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | th_TH |
dc.title | การศึกษาอิทธิพลของรูปร่างสายอากาศพลาสมาต่อความถี่และแบบรูปการแผ่พลังงานของสายอากาศ | th_TH |
dc.title.alternative | The study of the influence of plasma antenna shapes on frequency and radiation pattern | th_TH |
dc.type | Working Paper | th_TH |
dc.subject.keyword | สายอากาศ | th_TH |
dc.subject.keyword | พลาสมา | th_TH |
dc.subject.keyword | ความถี่ | th_TH |
dc.subject.keyword | กำลังงาน | th_TH |
dc.description.abstractthai | โครงงานวิศวกรรมนี้เป็นการศึกษาอิทธิพลของรูปร่างสายอากาศพลาสมาต่อความถี่และแบบรูปการแผ่พลังงานของสายอากาศ โดยจะมุ่งเน้นในด้านการศึกษาสายอากาศพลาสมาโดยใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์ เพื่อศึกษาว่ารูปทรงที่เปลี่ยนแปลงไปมีผลต่อสายอากาศพลาสมาอย่างไร โดยเมื่อรูปทรงของหลอดฟลูออเรสเซนต์ต่างกัน สายอากาศจะทำงานที่ความถี่ที่ต่างกัน นอกจากนี้ยังศึกษากำลังงานที่ป้อนให้กับหลอดฟลูออเรสเซนต์ทั้ง 3 รูปทรง คือทรงกระบอกตรง (หลอดสั้น และหลอดยาว) ทรงเกลียว และแบบบ่วง (Loop) โดยป้อนกำลังงานต่ำสุด 0 วัตต์ และกำลังงานสูงสุด 60 วัตต์ ซึ่งจะได้ความถี่ที่เปลี่ยน คือ 90 60 20 และ 60 เมกะเฮิรตซ์ ตามลำดับ โดยพบว่าหากป้อนกำลังงานที่ต่างกันให้กับหลอดฟลูออเรสเซนต์รูปทรงเดียวกัน ความถี่ของสายอากาศจะมีการเปลี่ยนแปลงไป | th_TH |
Appears in Collections: | EleEng-Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Eng_Suphaporn_J.pdf Restricted Access | 3.89 MB | View/Open Request a copy |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.