Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29043
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชาญไชย ไทยเจียม | th_TH |
dc.contributor.author | ศิริกานต์ พวงมณี | th_TH |
dc.contributor.author | สุกันยา แสงจันทร์ | th_TH |
dc.contributor.author | รัฐนันทน์ ละออบุตร | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-11-06T09:10:22Z | - |
dc.date.available | 2023-11-06T09:10:22Z | - |
dc.date.issued | 2565 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29043 | - |
dc.description.abstract | This engineering project presents designing technique for microstrip antenna and improves the return loss with transmission property. Minkowski fractal microstrip antenna is designed by using Genetic Algorithm to find the length and width of the patch. The patch structures are designed to operate at 0.7, 2.6, and 26 GHz. which are the 5G band of mobile systems in Thailand. Designing by MATLAB and CST software, results show that S11 parameters are -3.76, -13.07, and -26.55 dB at 0.7, 2.6, and 26 GHz. | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | th_TH |
dc.title | การออกแบบสายอากาศไมโครสตริปแฟร็กทัลมินโควาสกี้โดยใช้วิธีเชิงพันธุกรรม | th_TH |
dc.title.alternative | Design of Minkowski fractal microstrip antenna using genetic algorithm | th_TH |
dc.type | Working Paper | th_TH |
dc.subject.keyword | สายอากาศไมโครสตริปแฟร็กทัล | th_TH |
dc.subject.keyword | วิธีเชิงพันธุกรรม | th_TH |
dc.description.abstractthai | โครงงานวิศวกรรมนี้เสนอเทคนิคการออกแบบของสายอากาศไมโครสตริปและปรับปรุงค่าการสูญเสียย้อนกลับคุณสมบัติในการนำสัญญาณให้ดีขึ้นด้วยเทคนิคการทำแฟร็กทัลมินโควาสกี้ที่แผ่นตัวนำสายอากาศโดยใช้ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมมาประยุกต์ใช้ในการหาค่าความยาวและความกว้างของแผ่นตัวนำสายอากาศพร้อมกับการสร้างแบบจำลองที่เน้นให้สายอากาศทำงานที่ย่านความถี่ 0.7 กิกะเฮิรตซ์ ย่านความถี่ 2.6 กิกะเฮิรตซ์ และย่านความถี่ 26 กิกะเฮิรตซ์ ซึ่งเป็นย่านความถี่ 5G ของเครือข่ายไร้สายในประเทศไทยในปัจจุบัน โดยออกแบบประมวณผลผ่านทางคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรม MATLAB และ โปรแกรม CST ผลที่ได้รับจากการใช้เทคนิคการทำแฟร็กทัล คือ ได้สายอากาศที่ทำงานหลายย่านความถี่ ค่าการสูญเสียย้อนกลับถูกแสดงที่ -3.76 dB -13.07 dB และ -26.55 dB ที่ความถี่ 0.7 กิกะเฮิรตซ์ 2.6 กิกะเฮิรตซ์ และ 26 กิกะเฮิรตซ์ | th_TH |
Appears in Collections: | EleEng-Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Eng_Sirikarn_P.pdf Restricted Access | 3.93 MB | View/Open Request a copy |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.