Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29031
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิภากร วัฒนสินธุ์th_TH
dc.contributor.authorดิษฐ์ สุทธิวงศ์th_TH
dc.date.accessioned2023-10-16T09:05:41Z-
dc.date.available2023-10-16T09:05:41Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29031-
dc.descriptionงานวิจัยนี้ได้ทุนอุดหนุนวิจัยจากเงินรายได้มหาวิทยาลัย สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจำปีงบประมาณ 2564-
dc.description.abstractwith 2 expert and developed class materials for teaching and learning. Quantitative data were collected from pre-test and post-test scores of 33 learners enrolled in the academic year 2022. The findings revealed an opportunity to develop an open data application to be used in teaching and learning. The comparison of learning achievement by paired-sample t-test showed that the mean score after learning was higher than the mean score before learning at a statistically significant level of 0.01. The comparison results revealed that the average score after learning was higher than the average score before learning at the statistical significance level of 0.05 in the 21st century skills of 1) data accessing, filtering and preparation 2) creativity and presentations, and 3) problem solving. On the other hand, there was no difference in analytical thinking skills. The results showed that learners were satisfied with the open data application used in teaching and learning at a high level (x̄ = 4.21). The results of this study will be useful to apply in data analysis course, which will develop 21st century skills of the learners.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.subjectOpen Data-
dc.subjectData Analysis-
dc.subject21st Century Skills-
dc.subjectทักษะในศตวรรษที่ 21-
dc.titleรายงานวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลแบบเปิดสำหรับการพัฒนาการเรียนรู้ดิจิทัลใน ศตวรรษที่ 21th_TH
dc.title.alternativeOpen data analytics for the development of digital learning in the 21st centuryth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.subject.keywordการเรียนรู้ดิจิทัลth_TH
dc.subject.keywordการวิเคราะห์ข้อมูลth_TH
dc.description.abstractthaiการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันของแหล่งข้อมูลแบบเปิด 2) พัฒนาบทเรียนและคลังข้อมูลแบบเปิดเพื่อใช้ในการเรียนการสอนรายวิชาการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหว่างก่อนกับหลังได้รับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยใช้คลังข้อมูลแบบเปิด และ 4) ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนของผู้เรียนที่ได้รับจากการจัดการเรียนรู้โดยใช้คลังข้อมูลแบบเปิด เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ พัฒนาบทเรียนสำหรับการทดลองใช้ในชั้นเรียน กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการสนทนากลุ่ม คือ นิสิตที่ผ่านการลงทะเบียนวิชาวิเคราะห์ข้อมูลในปีการศึกษา 2564 กลุ่มละ 5 คน จำนวน 2 กลุ่ม รวม 10 คน สัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญจำนวน 2 ท่าน พัฒนาเครื่องมือเพื่อใช้ในการเรียนการสอน เก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากคะแนนแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนของผู้เรียนจำนวน 33 คน ที่ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษา 2565 ผลการวิจัยพบโอกาสในการพัฒนาคลังข้อมูลเชื่อมต่อข้อมูลแบบเปิดเพื่อนำมาใช้ในการเรียนการสอน ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยสถิติ paired-sample t test พบว่าคะแนนเฉลี่ยหลังการเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ผลการเปรียบเทียบรายด้าน พบว่า ผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังการเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สำหรับทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้าน 1) การเข้าถึง การคัดกรอง และการจัดเตรียมข้อมูล 2) การสร้างสรรค์ผลงานและนำเสนอ และ 3) การแก้ไขปัญหา ในขณะที่ทักษะด้านการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบไม่มีความแตกต่าง ผลการศึกษาความพึงพอใจ พบว่าผู้เรียนมีความพึงพอใจในสื่อคลังข้อมูลแบบเปิดที่ใช้ในการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.21) ผลจากการศึกษานี้จะเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการเรียนการสอนชุดวิชาการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียนโดยใช้คลังข้อมูลแบบเปิดth_TH
Appears in Collections:IS-Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
IS-Vipakorn-V-2565.pdf35.62 MBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.