Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29020
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชไมพร สุขแจ่มศรีth_TH
dc.contributor.advisorอุษณีย์ ปึงไพบูลย์th_TH
dc.contributor.authorวริศรา บุญเรืองth_TH
dc.date.accessioned2023-09-14T07:05:25Z-
dc.date.available2023-09-14T07:05:25Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29020-
dc.description.abstractDental implants are a popular dental treatment because they are like natural teeth, blend well with the body's tissues, and help maintain the condition of adjacent tooth roots. They also have a longer lifespan compared to dentures, with a low risk of failure or complications. Another issue that can occur after implant placement is bone loss, which is caused by forces such as chewing or bruxism. These forces result in varying levels of bone strain distribution based on everyone’s pathology. This research consists of four processes: 1) studying the Digital Image Correlation (Die) method to measure strain values in dental implants, 2) comparison the strain values obtained from Die with the results of experiments using strain gauge, 3) created a finite element model of dental implants and compare with the Die method, and 4) comparison the realistic finite element model and the finite element model, study strain distribution using the finite element method and verifying the accuracy of the finite element model with the Digital Image Correlation (Die) technique. The experiments were conducted using forces ranging from 300 to 1500 Newtons, and the results showed that the Die method accurately measured displacement and strain values with an R2 (R-Square) value of 1. When comparison the displacement and strain values of the finite element model and the Die method, it was found that they were similar.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.titleการกระจายความเครียดของกระดูกขากรรไกรฝังรากฟันเทียมชนิดเดี่ยว: การวิเคราะห์ด้วยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์และตรวจสอบด้วยการทดลองด้วยภาพth_TH
dc.title.alternativeBone strain distribution of a single supported dental implant: A finite element analysis validated with image based experimentth_TH
dc.typeWorking Paperth_TH
dc.subject.keywordกระดูกละลายth_TH
dc.subject.keywordรากฟันเทียมth_TH
dc.subject.keywordการกระจายความเครียดth_TH
dc.description.abstractthaiรากฟันเทียมเป็นการรักษาทางทันตกรรมและได้รับความนิยมอย่างมาก เพราะมีความสวยงาม ใกล้เคียงกับฟันธรรมชาติ รวมถึงสามารถเข้ากันได้ดีกับเนื้อเยื่อของร่างกาย และช่วยคงสภาพรากฟัน ข้างเคียง อีกทั้งมีอายุการใช้งานยาวนานกว่าฟันปลอม มีความเสี่ยงที่จะเกิดการล้มเหลวหรือเกิด ภาวะแทรกซ้อนน้อย การละลายของกระดูกเป็นอีกหนึ่งความล้มเหลวที่เกิดขึ้นหลังจากใส่รากฟันเทียม ปัจจัยที่ทำให้เกิดการละลายของกระดูกมาจากแรงที่มากระทำ เช่น แรงบดเคี้ยว หรือแรงที่เกิดจากการ นอนกัดฟัน ซึ่งทำให้เกิดการกระจายความเครียดที่กระดูกในระดับที่แตกต่างกันตามพยาธิวิทยาของแต่ละ คน ซึ่งงานวิจัยนี้ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ศึกษาวิธี Digital Image Correlation (Die) เพื่อนำมา ประยุกต์ใช้ในการหาค่าความเครียดในรากฟันเทียม 2) เปรียบเทียบค่าความเครียดจากวิธี DIC กับผลการ ทดลองด้วย Strain gauge 3) สร้างแบบจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์ของรากฟันเทียมและเปรียบเทียบกับวิธี DIC 4) เปรียบเทียบแบบจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์เสมือนจริงและแบบจำลองทางไฟไนต์เอลิเมนต์ เพื่อศึกษา การกระจายความเครียดด้วยระเบียบวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ และตรวจสอบความถูกต้องของโมเดลไฟไนต์เอลิ เมนต์ด้วยเทคนิค Digital Image Correlation (DIC) โดยใช้แรงขนาด 300-1500 นิวตัน โดยผลการ ทดสอบค่าการกระจายความเครียดที่ได้จากการทดลองของแบบจำลองไฟไนฅ์เอลิเมนต์และวิธี Digital Image Correlation (DIC) พบว่าจากการศึกษาวิธี DIC สามารถวัดค่าการเคลื่อนที่และค่าความเครียดได้ อย่างถูกต้องได้ค่า R2(R-Square) = 1 และเมื่อเปรียบเทียบค่าการเคลื่อนที่และค่าความเครียดของ แบบจำลองไฟไนต์เอลิเมนต์และวิธี DIC พบว่ามีค่าใกล้เคียงกันและมีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกันth_TH
Appears in Collections:BioEng-Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Warisara_B.pdf
  Restricted Access
5.54 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.