Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29011
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชไมพร สุขแจ่มศรีth_TH
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ สมบุญธรรมth_TH
dc.contributor.authorปัทมพร กำมาth_TH
dc.contributor.authorภิริญา คุณารักษ์th_TH
dc.date.accessioned2023-09-12T08:39:43Z-
dc.date.available2023-09-12T08:39:43Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/29011-
dc.description.abstractNowadays, clear aligner is one of the most popular and modern dental procedures for correcting abnormalities within the mouth. With the treatment efficiency that takes a shorter time and is more beautiful than other forms of orthodontic treatment including the safety of treatment. The function of clear aligner is transmitting force through the crown of teeth directly and send it through the roots of the teeth. When the root of the tooth is subjected to force, the root of the tooth will press the bone wall and will cause the mechanism of resorption of old bone and create new bone to replace (Bone remodeling) and cause gaps, resulting in teeth moving to the desired position but the transmission of force from clear aligner needs to provide the properly force. If the force is too high, it may cause bone cells to die or press on the blood vessels, eventually causing the teeth to fail. เท this research, we are interested in measuring the force at the root of the tooth. Therefore, the experiment was divided into 2 main experiments, namely, the first experiment was to measure the force at the root of the tooth when the tooth (Crown), get the required strength and experiment 2, measuring the force at the root of the tooth after wearing the clear aligner, which measures the force with a load cell and simulates the artificial periodontal ligament in the tooth model. The test results showed that the measured force on crown of teeth increased. But the force measured at the root of the tooth increases initially and gradually stabilizes. Wearing clear orthodontic more degree activation that can move along a large distance will result in a lot offeree at the root of the tooth as well.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.titleเครื่องมือวัดแรงบริเวณรากฟันจากการสวมใส่เครื่องมือจัดฟันแบบใสth_TH
dc.title.alternativeAn experimental device for measuring dental forces exerted by thermoplastic alignersth_TH
dc.typeWorking Paperth_TH
dc.subject.keywordเครื่องมือจัดฟันแบบใสth_TH
dc.subject.keywordการสลายของกระดูกth_TH
dc.description.abstractthaiปัจจุบันการจัดฟันแบบใสเป็นกระบวนทางทันตกรรมรูปแบบหนึ่งในการแก้ไขความผิดปกติภายในช่องปากที่มีความทันสมัยและเป็นที่นิยมอย่างมาก ด้วยประสิทธิภาพทางการรักษาที่ใช้ระยะเวลาสั้นและสวยงามกว่าการจัดฟันรูปแบบอื่น รวมไปถึงความปลอดภัยในการรักษา การทำงานของเครื่องมือจัดฟันแบบใส คือ การส่งแรงผ่านเครื่องมือจัดฟันไปยังตัวฟันโดยตรงและส่งผ่านไปยังรากฟัน ซึ่งเมื่อรากฟันได้รับแรงจะทำให้รากฟันกระทบผนังของกระดูก จะทำให้เกิดกลไกการสลายของกระดูกเก่าและสร้างกระดูกใหม่เข้ามาทดแทน (Bone remodeling) และเกิดช่องว่างจึงส่งผลให้ฟันเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งที่ต้องการ แต่การส่งแรงจากเครื่องมือจัดฟันแบบใสจำเป็นต้องให้แรงที่เหมาะสม หากแรงมากเกินไปอาจส่งผลกระทบทำให้เซลล์กระดูกตายหรือกดทับหลอด เลือดจนทำให้การยึดฟันล้มเหลวในที่สุด ซึ่งในงานวิจัยนี้สนใจวัดแรงที่เกิดขึ้นบริเวณรากฟัน จึงแบ่งการทดลองเป็น 2 การทดลองหลัก คือ การทดลองที่ 1 การวัดแรงที่รากฟันเมื่อตัวฟัน (Crown) ไต้รับแรงตามที่กำหนด และการ ทดลองที่ 2 การวัดแรงที่รากฟันของหลังใส่เครื่องมือจัดฟันแบบใส (Clear Aligner) ซึ่งวัดแรงด้วยโหลดเซลล์ (Load Cell) และจำลองเอ็นปริทันต์เทียมในแบบจำลองฟัน โดยผลการทดสอบพบว่าแรงที่วัดได้บริเวณตัวฟันเพิ่ม มากขึ้น แต่แรงที่วัดได้ที่รากฟันจะเพิ่มขึ้นในระยะแรกและค่อย ๆ คงที่ และการใส่เครื่องมือจัดฟันแบบใสที่มีการ เคลื่อนที่ไปได้ตามระยะทางตามระดับมากจะส่งผลให้เกิดแรงที่รากฟันมากตามไปด้วยth_TH
Appears in Collections:BioEng-Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Pattamaporn_K.pdf
  Restricted Access
7.61 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.