Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28980
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอังศินันท์ อินทรกำแหงth_TH
dc.contributor.authorฉัตรชัย เอกปัญญาสกุลth_TH
dc.contributor.authorวิชุดา กิจธรธรรมth_TH
dc.contributor.authorอัจศรา ประเสริฐสินth_TH
dc.contributor.authorสิทธิพงศ์ วัฒนานนท์สกุลth_TH
dc.contributor.authorอรัญ วานิชกรth_TH
dc.contributor.authorศรัณย์ พิมพ์ทองth_TH
dc.contributor.authorสุดารัตน์ ตันติวิวัทน์th_TH
dc.contributor.authorเจนนิเฟอร์ ชวโนวานิชth_TH
dc.contributor.authorพิชชาดา สุทธิแป้นth_TH
dc.date.accessioned2023-09-07T04:36:41Z-
dc.date.available2023-09-07T04:36:41Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28980-
dc.description.abstractThe objective were 1) to study the condition of research proposal writing and research dissemination, 2) to investigate the congruency of the causal relationship model among bio-psychosocial factors, attitude toward doing research, qualification of the mentor with the research proposal writing and research dissemination. This study employed the mixed research method comprising qualitative and quantitative research methodologies. The research sample for the quantitative study consisted of 6 0 mentors. Data for qualitative study were collected via the use of interviews and analyzed using the content analysis. The quantitative study consisted of 250 University instructors. The employed data collecting instruments were the self-administered questionnaires. Research data were analyzed using the path analysis with the LISREL program. Research finding were as follows: 1. The condition of research proposal writing and research dissemination is researcher characteristics, supporting agency, funding and technology. 2. The model fitted with the empirical data (χ2/df= 1.046, GFI = .997, AGFI = .975, RMSEA = .014, CFI = 1.000). Consequently, three causal variables could demonstrate the variance of the research proposal writing and research dissemination at 82.9 and 24.8 percent respectively.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.titleรายการวิจัยเรื่อง การเสริมสร้างศักยภาพหน่วยวิจัยด้านชีวจิตสังคมและพฤติกรรมศาสตร์th_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.subject.keywordวิจัยth_TH
dc.subject.keywordชีวจิตสังคมth_TH
dc.subject.keywordพฤติกรรมศาสตร์th_TH
dc.description.abstractthaiการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสาเหตุเงื่อนไขที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาหัวข้อวิจัยและการ เผยแพร่ผลงานวิจัย 2) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มีต่อการพัฒนาหัวข้อวิจัย และการเผยแพร่ผลงานวิจัยด้วยระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน ผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ นักวิจัยพี่เลี้ยง 60 คน โดยใช้การสัมภาษณ์ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ส่วนกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ อาจารย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จำนวน 250 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามปัจจัยการพัฒนาหัวข้อวิจัยและ การเผยแพร่ผลงานวิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1) สาเหตุเงื่อนไขในการพัฒนาหัวข้อวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัย ได้แก่ คุณลักษณะนักวิจัย การสนับสนุนของหน่วยงานต้นสังกัด การให้ทุน และเทคโนโลยี 2) โมเดลที่พัฒนาขึ้นมี ความสอดคล้องของกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2/df= 1.046, GFI = .997, AGFI = .975, RMSEA = .014, CFI = 1.000) และ 3) ปัจจัยทางชีวจิตสังคม เจตคติที่ดีต่อการทำงานวิจัย และคุณลักษณะพี่เลี้ยงร่วมกันอธิบายความ แปรปรวนของการพัฒนาหัวข้อวิจัยและการเผยแพร่ผลงานวิจัยร้อยละ 82.9 และ 24.8 ตามลำดับth_TH
Appears in Collections:Bsri-Technical Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bsri-Res-Ungsinun_I.pdf15.14 MBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.