Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28972
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วรรณวิไล ไกรเพ็ชร์ เอวานส์ | th_TH |
dc.contributor.author | ธราธร นาเขียว | th_TH |
dc.contributor.author | เอกวัฒน์ เสือคง | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-25T06:22:06Z | - |
dc.date.available | 2023-08-25T06:22:06Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28972 | - |
dc.description.abstract | The products from crude oil drilling process are crude oil, sand and water. The simulation of this products flow in hydrocyclone using CFD technique are carried out in this research, in order to design hydrocyclone separation system for down-hole separation. The obtained simulation results were agreed with the experimental data of Amini et al. (2012). The hydrocyclone separation system in down-hole then was designed. The system consists of two hydrocyclones. The first hydrocyclone was used to separate the sand from the water and the crude oil. The second hydrocyclone was used separate the crude oil from the water. It was found that the hydrocyclones operate at the feed flow rate of 70 liters per minute gave the best separation efficiency. | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | th_TH |
dc.title | การจำลองการไหลในไฮไดรไซโคลนสำหรับการแยกน้ำและน้ำมันในหลุมขุดเจาะ | th_TH |
dc.title.alternative | The simulation of flow in a hydrocyclone for the down-hole oil-water separation | th_TH |
dc.type | Working Paper | th_TH |
dc.subject.keyword | ไฮโดรไซโคลน | th_TH |
dc.subject.keyword | ไฮโดรไซโคลน -- พลศาสตร์ของไหล | th_TH |
dc.description.abstractthai | ในกระบวนการขุดเจาะนำมัน ผลิตภัณฑ์ที่ได้จะประกอบด้วย น้ำ น้ำมันดิบและทราย โครงงานวิศวกรรมนี้ทำการศึกษาการจำลองลักษณะการไหลของน้ำ น้ำมันดิบ และทราย ภายในไฮโดรไซโคลนในหลุมขุดเจาะ และทำการออกแบบกระบวนการแยกของไฮโดรไซโคลนในหลุมขุดเจาะโดยใช้เทคนิค CFD เพื่อเปรียบเทียบค่าประสิทธิภาพในการแยกของผลการจำลองเทียบกับผลการทดลอง จากการจำลองพบว่าค่าประสิทธิภาพในการแยกที่ได้จากการจำลองสอดคล้องกับผลการ ทดลอง ซึ่งมีค่าความคลาดเคลื่อนอยู่ในช่วงที่สามารถยอมรับได้ และในการออกแบบกระบวนการแยกของไฮโดรไซโคลนในหลุมขุดเจาะ จะใช้ไฮโดรไซโคลน 2 ตัวต่อแบบ multistage ไฮโดรไซโคลนตัวแรกจะใช้แยกทรายออกจากน้ำและน้ำมันดิบ ส่วนไฮโดรไซโคลนตัวที่สองจะใช้แยกน้ำออกจากน้ำมันดิบ ซึ่งจากการจำลองพบว่าไฮโดรไซโคลนที่มีอัตราการไหลขาเข้า 70 ลิตรต่อนาที จะมีประสิทธิภาพในการแยกสูงสุด โครงงานนี้สามารถสรุปไต้ว่า การจำลองการไหลโดยใช้เทคนิค CFD สามารถนำไปเป็นเครื่องมือช่วยในการออกแบบอุปกรณ์ได้ | th_TH |
Appears in Collections: | CheEng-Bachelor's Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Eng_Taratorn_N.pdf Restricted Access | 13.84 MB | View/Open Request a copy |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.