Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28921
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนาภาส พรมน้อยth_TH
dc.contributor.authorธนภูมิ อติเวทินth_TH
dc.date.accessioned2023-07-24T08:50:22Z-
dc.date.available2023-07-24T08:50:22Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28921-
dc.descriptionThe 5th BAs National Conference 2023 การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่5 (ในความร่วมมือ 5 สถาบัน)-
dc.description.abstractThe purpose of this research is to examine Influence of Supportive Attitude and Perceived Behavioral Factors toward Work Efficiency via Remote Working among The Stock Exchange of Thailand’s Employees. The study had a sample group of 275 individuals and utilized a questionnaire as the data collection tool. The statistical analysis involved percentages, means, standard deviations, and statistical tests such as paired t-tests. The research findings revealed that the majority of respondents were female, aged 41 years and above, with higher education levels and work experience of 15 years or more. Additionally, they had responsibilities towards other family members. The hypothesis testing results indicated that employees with different genders, ages, and education levels did not exhibit significant differences in remote work performance through the remote work system. However, employees with different work experience and family responsibilities showed statistically significant differences in remote work performance. Furthermore, attitudes towards the remote work system were found to have a statistically significant influence on work performance through the remote work system among securities market employees in Thailand, with a forecast accuracy of 25.80% . Regarding the perception of control over behavior, factors such as resource facilitation and organizational policies were positively related to work performance through the remote work system among securities market employees in Thailand, with a forecast accuracy of 22.90%. However, the technology factor was not statistically significant and could not predict the overall work performance through the remote work system among The Stock Exchange of Thailand’s Employees.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.titleอิทธิพลของปัจจัยสนับสนุนด้านทัศนคติและการรับรู้การควบคุม พฤติกรรมที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานผ่านระบบทางไกลของพนักงานตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeINFLUENCE OF SUPPORTIVE ATTITUDE AND PERCEIVED BEHAVIORAL FACTORS TOWARD WORK EFFICIENCY VIA REMOTE WORKING AMONG THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND'S EMPLOYEEth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.subject.keywordการควบคุมพฤติกรรมth_TH
dc.subject.keywordประสิทธิภาพการปฏิบัติงานth_TH
dc.subject.keywordทัศนคติth_TH
dc.subject.keywordการทำงานผ่านระบบทางไกลth_TH
dc.subject.keywordBehavior Control Perceptionth_TH
dc.subject.keywordEmployee's performanceth_TH
dc.subject.keywordAttitudeth_TH
dc.subject.keywordInfluence of supporting factorsth_TH
dc.subject.keywordRemote workingth_TH
dc.description.abstractthaiการวิจัยนี้มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยสนับสนุนด้านทัศนคติและการรับรู้การควบคุม พฤติกรรมที่มีต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานผ่านระบบทางไกลของพนักงานตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 275 คน โดยใช้แบบถามเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้วิเคราะห์ ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานประกอบด้วย การ วิเคราะห์ความแตกต่าง การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว โดยใช้วิธีการทดสอบแบบการวิเคราะห์ความ แตกต่างเป็นรายคู่ โดยใช้วิธีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญน้อยที่สุด โดยใช้ระดับความเชื่อมั่นที่ระดับ 0.05 การ วิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณด้วยวิธีนำตัวแปรเข้าทั้งหมด ผลการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง มีอายุ 41 ปีขึ้นไป สำเร็จการศึกษาอยู่ในระดับสูงกว่าปริญญาตรี มีอายุการทำงาน 15 ปีขึ้นไป และมี ภาระรับผิดชอบต่อสมาชิกคนอื่นๆ ในครอบครัว ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า 1. พนักงานที่มี เพศ อายุ และ ระดับการศึกษาที่ต่างกัน มีประสิทธิภาพการทำงานผ่านระบบทางไกลไม่แตกต่างกัน แต่พนักงานที่มีอายุการ ทำงาน และภาระรับผิดชอบคนในครอบครัวที่แตกต่างกัน จะมีประสิทธิภาพในการทำงานผ่านระบบทางไกลที่ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. ทัศนคติที่มีต่อระบบการทำงานทางไกล มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการใน การปฏิบัติงานผ่านระบบทางไกลของพนักงานตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยตัว พยากรณ์สามารถพยากรณ์ได้ร้อยละ 25.80 3. ด้านการรับรู้ถึงการควบคุมพฤติกรรม ประกอบด้วย ทรัพยากรที่ เอื้ออำนวยต่อการใช้ เทคโนโลยีเอื้ออำนวยต่อการใช้นโยบายองค์กร มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ผ่านระบบทางไกล ของพนักงานตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พบว่า ด้านทรัพยากรที่เอื้ออำนวยต่อการใช้ และด้านนโยบายองค์กร มีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานผ่านระบบทางไกล ของ พนักงานตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยที่ตัวพยากรณ์ทั้งสองสามารถพยากรณ์ ได้ร้อยละ 22.90 ส่วนด้านเทคโนโลยีที่เอื้ออำนวยต่อการใช้ไม่มีระดับนัยสำคัญทางสถิติ ไม่สามารถพยากรณ์ประสิทธิภาพในการทำงานผ่านระบบทางไกลโดยรวมของพนักงานตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้th_TH
Appears in Collections:Bas-Conference paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bas-Con-Thanapas-P-smart5-p43.pdf396.58 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.