Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28891
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | หทัยพันธน์ ชูชื่น | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-07-18T02:40:33Z | - |
dc.date.available | 2023-07-18T02:40:33Z | - |
dc.date.issued | 2566 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28891 | - |
dc.description | การประชุมวิชาการวิจัยระดับชาติ สำหรับบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา ครั้งที่ 15 ดอกจานบ้านเชียงวิชาการ’66 : การพัฒนางานประจำในยุควิถีปกติใหม่ที่มีประสิทธิภาพของบุคลากรสายสนับสนุน | th_TH |
dc.description.abstract | The purpose of this research is to study an analysis of LMS (Moodle) for teachers performance enhancement. The purpose of this research was to analyze the factors supporting instructors to the LMS system and to try out the developed guidelines for teaching and learning LMS (Moodle) approaches. The research was divided into 2 phases: Phase 1 Analysis of factors affecting the readiness of LMS and Phase 2 of the trial of the developed approach. Data collection using questionnaires An example of research is There were 19 teaching staff and 187 first- year students. The data were analyzed using frequency, percentage, mean and standard deviation. and interviewed 6 teachers with different teaching experience. The results showed that Factors supporting teachers to the LMS- style teaching and learning management system consist of the ability to produce teaching videos. Facilitating resource support The readiness of LMS teaching and learning and the effectiveness of LMS teaching and learning were at moderate levels in all aspects. And when experimenting with the approach to support teachers into the LMS (Moodle) teaching management system, the overall opinions increased in all aspects at a high level. The results of the interview revealed that the guideline for supporting instructors towards teaching and learning through LMS should be a policy requiring the use of LMS (Moodle) as part of teaching and learning in the curriculum. It should have the same support as a book or textbook. There is a training course to teach how to use LMS (Moodle) and provide methods for presenting students to practice. Clinic groups are organized to share experiences. Implement small- group activities to suit the level of usage. Moodle technicians or staff should be organized to ask questions when encountering problems while using the location and equipment. | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.title | การวิเคราะห์เครื่องมือ LMS (Moodle) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาจารย์ | th_TH |
dc.title.alternative | An analysis of LMS for teachers performance enhancement | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.subject.keyword | การวิเคราะห์เครื่องมือ | th_TH |
dc.subject.keyword | การพัฒนาศักยภาพอาจารย์ | th_TH |
dc.subject.keyword | การจัดการเรียนการสอนแบบ LMS | th_TH |
dc.subject.keyword | Enhancement | th_TH |
dc.subject.keyword | Teachers performance | th_TH |
dc.subject.keyword | LMS teaching and learning management | th_TH |
dc.description.abstractthai | การวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์เครื่องมือ LMS (Moodle) เพื่อพัฒนาศักยภาพอาจารย์ มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ วิเคราะห์ปัจจัยสนับสนุนอาจารย์สู่ระบบการจัดการเรียนการสอนแบบ LMS และเพื่อทดลองใช้แนวทางการสนับสนุนอาจารย์ สู่ระบบการจัดการเรียนการสอนแบบ LMS (Moodle) ที่สามารถพัฒนาศักยภาพอาจารย์เพิ่มมากขึ้น แบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะ 1 การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมของการจัดการเรียนการสอนแบบ LMS และระยะ 2 การทดลอง ใช้แนวทางที่พัฒนาขึ้น การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม เชิงปริมาณ ตัวอย่างการวิจัยคือ อาจารย์ผู้สอน จำนวน 19 คน และนิสิต ชั้นปีที่ 1 - 4 จำนวน 187 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเชิง คุณภาพ สัมภาษณ์อาจารย์ที่มีประสบการณ์สอนแตกต่างกัน จำนวน 6 คน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยสนับสนุนอาจารย์สู่ระบบการจัดการเรียนการสอนแบบ LMS ประกอบไปด้วย ด้าน ความสามารถจัดทำวิดีโอการสอน ด้านการสนับสนุนทรัพยากรอำนวยความสะดวก ด้านความพร้อมของการจัดการเรียนการ สอนแบบ LMS และด้านประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนแบบ LMS มีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน และ เมื่อทดลองใช้แนวทางการสนับสนุนอาจารย์สู่ระบบการจัดการเรียนการสอนแบบ LMS (Moodle) ที่สามารถพัฒนาศักยภาพ อาจารย์เพิ่มมากขึ้น มีความคิดเห็นในภาพรวมเพิ่มขึ้นอยู่ในระดับมากทุกด้าน ผลการสัมภาษณ์ พบว่า แนวทางสนับสนุนอาจารย์สู่การจัดการเรียนการสอนแบบ LMS ควรกำหนดเป็นนโยบายให้ ต้องมีการใช้ LMS (Moodle) เป็นส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนในหลักสูตร ควรมีการสนับสนุนเช่นเดียวกับทำหนังสือหรือ ตำรา มีการจัดอบรมสอนการใช้ LMS (Moodle) และจัดหาวิธีการนำเสนอให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติ มีการจัดกลุ่มคลินิกเพื่อ แบ่งปันประสบการณ์ ดำเนินการจัดกิจกรรมกลุ่มย่อยให้เหมาะกับระดับการใช้งาน ควรมีการจัดช่างเทคนิคหรือเจ้าหน้าที่ เฉพาะด้าน Moodle สอบถามเมื่อพบปัญหาขณะใช้งาน สถานที่ และอุปกรณ์ | th_TH |
Appears in Collections: | Cci - Conference paper |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
CCI-Con-Hathaipan-C-2566.pdf | 283 kB | View/Open |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.