Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28886
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชนัตถ์ พูนเดชth_TH
dc.date.accessioned2023-07-11T06:13:13Z-
dc.date.available2023-07-11T06:13:13Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttps://ojs.lib.buu.ac.th/index.php/search2/article/view/3574-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28886-
dc.description.abstractThe purposes of this study were (1) to investigate students’ achievement goal orientations in learning, perceptions of learning environment in a general education classroom, approach to learn, and learning strategies for critical thinking and (2) to validate a causal model of students’ achievement goal orientations in learning, perceptions of learning environment in a general education classroom, and learning approaches affecting their learning strategies for critical thinking with empirical data. The study comprised 547 first year students who enrolled in a general education course at Srinakharinwirot University. Descriptive statistics was employed to describe the data. Structural equation modeling was used to test a hypothetical model. The results indicated that most students (1) perceived the general education classroom learning as a cooperative learning environment, (2) adopted a mastery achievement goal orientation towards learning, and(3) used a surface learning approach. They had relatively high scores for learning strategies indicating critical thinking. Furthermore, a hypothetical model modified on the basis of the observed data showed acceptable fit.The model showed that learning strategies for critical thinking were influenced by students’ achievement goal orientation, their perceptions of learning environment in a general education classroom, and their learning approach. These findings have substantial implications for the design of innovative classroom learning environments in a general education course.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.subjectAchievement goal orientations in learning-
dc.subjectperceptions of learning-
dc.subjectLearning approach-
dc.subjectLearning strategies for critical thinking-
dc.subjectCausal model-
dc.titleการพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างเป้าหมายแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ การรับรู้สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องเรียนสำหรับชั้นเรียนวิชาศึกษาทั่วไป วิธีการเรียนรู้ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a Causal Model of Achievement Goal Orientations in Learning, Perceptions of Learning Environment in a General Education Classroom, and Learning Approaches toward Critical Thinking-
dc.typeArticleth_TH
dc.subject.keywordแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์th_TH
dc.subject.keywordสภาพแวดล้อมห้องเรียนth_TH
dc.subject.keywordการเรียนรู้th_TH
dc.subject.keywordทักษะการเรียนth_TH
dc.subject.keywordความคิดอย่างมีวิจารณญาณth_TH
dc.identifier.bibliograpycitationวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา ปีที่ 12 ฉบับที่ 1, เมษายน – กันยายน 2557th_TH
dc.description.abstractthaiการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาลักษณะทั่วไปในด้านเป้าหมายแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์วิธีการเรียนรู้การรับรู้สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องเรียนสำหรับชั้นเรียนวิชาศึกษาทั่วไปและทักษะการเรียนแบบการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนและ (2) ตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างตัวแปรเป้าหมายแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์วิธีการเรียนรู้การรับรู้สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องเรียนสำหรับชั้นเรียนวิชาศึกษาทั่วไปและทักษะการเรียนแบบการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนกลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เรียนรายวิชาศึกษาทั่วไปจำนวน 547 คนการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติบรรยายและสถิติวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างผลการวิจัยปรากฏว่าผู้เรียนส่วนใหญ่มีลักษณะการรับรู้สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในห้องเรียนสำหรับชั้นเรียนวิชาศึกษาทั่วไปแบบร่วมมือกันมีเป้าหมายแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์แบบมุ่งความรู้มีวิธีการเรียนรู้แบบผิวเผินและผู้เรียนมีทักษะการเรียนแบบการคิดอย่างมีวิจารณญาณในระดับค่อนข้างมากและโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นและมีการปรับโมเดลเพิ่มเติมมี ความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ซึ่งจากโมเดลแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของตัวแปรต่างๆที่ส่งผลต่อทักษะการเรียนแบบการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนผลการวิจัยนี้ให้ข้อเสนอแนะเพื่อสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้โดยสร้างองค์ความรู้เพิ่มเติมในการจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนในรายวิชาศึกษาทั่วไปth_TH
Appears in Collections:Ilc - Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
IlC-Chanat-P-2557.pdf1.03 MBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.