Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28650
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorคมสิทธิ์ เกียนวัฒนาth_TH
dc.contributor.authorศรัญญา ศรีทองth_TH
dc.contributor.authorอุษณีย์ วัชรไพศาลกุลth_TH
dc.date.accessioned2023-06-22T01:13:33Z-
dc.date.available2023-06-22T01:13:33Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28650-
dc.description.abstractThe purposes of this study were to study the tourism management model in religious dimension which is related to Buddhist tourism and to study guidelines to promote the Buddhist tourism of Khao Khitchakut national park in Chanthaburi province. Data collection consisted of qualitative research and action research by collecting data from documentary study, field Survey, and in-depth interviews with 30 academician and stakeholders. The results were found that the tourism management model of Khao Khitchakut national park consisted of 4 models; Tourism in the Buddhist style that emphasizes the use of traditional temple and religion resources, Joint design between religion and tourism, Tourism management in the way of spirituality, and Blending with tourism in religious objects. Additionally, there are 3 ways to promote Buddhist tourism in Khao Khitchakut National Park, which are transportation: there should be improvements to make it easier to access tourist attractions. Personnel: there should focus on beliefs, culture and Buddhism. And, Buddhist tourism activities: there should develop activities to be interesting and in accordance with Buddhist principles in order to attract tourists to participate in activities and preserve the beliefs and culture along with the Buddhist principles.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.titleการจัดการการท่องเที่ยวตามแนวพุทธของอุทยานแห่งชาติ เขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.title.alternativeBuddhist Tourism Management of Khao Khitchakut National Parkin Chanthaburi Provinceth_TH
dc.typeArticleth_TH
dc.subject.keywordการจัดการการท่องเที่ยวth_TH
dc.subject.keywordการท่องเที่ยวตามแนวพุทธth_TH
dc.subject.keywordเขาคิชฌกูฏth_TH
dc.subject.keywordTourism Managementth_TH
dc.subject.keywordBuddhist Tourismth_TH
dc.subject.keywordKhao Khitchakutth_TH
dc.description.abstractthaiการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการ การท่องเที่ยวในมิติทางศาสนาอันสัมพันธ์กับการท่องเที่ยวตามแนวพุทธ และศึกษาแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามแนวพุทธของอุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี เป็นงานวิจัยแบบผสมร่วมกันของการวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปฏิบัติการด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร การสำรวจพื้นที่ และการสัมภาษณ์เชิงลึกจาก ผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง จำนวน ๓๐ คน ผลการวิจัยพบว่า อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏมีรูปแบบการจัดการ การท่องเที่ยวในมิติทางศาสนาอันสัมพันธ์กับการท่องเที่ยวตามแนวพุทธจำนวน ๔ รูปแบบ ได้แก่ การท่องเที่ยวตามแนวพุทธที่เน้นการใช้ ทรัพยากรของวัดและศาสนาแบบเดิม การออกแบบร่วมกันระหว่างศาสนาและการท่องเที่ยวการจัดการท่องเที่ยวแบบวิถีจิตวิถีธรรม และการผสมร่วมกับการท่องเที่ยวในวัตถุทางศาสนา และมีแนวทางในการส่งเสริมการท่องเที่ยวตามแนวพุทธของอุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านคมนาคม: ควรมีการปรับปรุงเพื่อให้ง่ายต่อการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ด้านบุคลากร: ควรเน้นเรื่องความเชื่อ วัฒนธรรม และหลักศาสนาพุทธ และด้านกิจกรรมการท่องเที่ยว เชิงพุทธ: ควรพัฒนากิจกรรมให้มีความน่าสนใจ และเป็นไปตามหลักธรรมวิถีพุทธ เพื่อดึงดูดให้นักท่องเที่ยวสนใจเข้าร่วมกิจกรรมและอนุรักษ์ความเชื่อและวัฒนธรรมตามแนวพุทธอันดีงามth_TH
Appears in Collections:Ece - Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ece-Article-Komsit-K-2563.pdf201.39 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.