Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28494
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อนุพนธ์ คำปัน | - |
dc.contributor.author | จารุวรรณ สกุลคู | - |
dc.contributor.author | อรรณพ โพธิสุข | - |
dc.contributor.author | จันทรัศม์ ภูติยริยวัฒน์ | - |
dc.date.accessioned | 2023-06-13T10:18:19Z | - |
dc.date.available | 2023-06-13T10:18:19Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28494 | - |
dc.description | การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6 วันที่ 17 มิถุนายน 2559 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research were to study the public consciousness components of under graduate students in higher education institutes in Bangkok and to develop a training program to enhance a public consciousness of under graduate students of Srinakharinwirot University. In the first part, the subjects were 624 students randomly selected from 19 universities in Bangkok area in academic year 2014. The instrument used for collecting data was a Likert-type, five-point rating scale questionnaire of 96 items on public consciousness. The statistical method used for analytical data included percentage, mean, standard deviation, confirmatory factor analysis and t-test. The results showed that the confirmatory factors analysis significantly confirmed that the method of the public consciousness could be characterized into eight factors: co-problem awareness wisdom, Love generosity and unity, Social participation, Public Responsibility, To praise honor others, Standard working, Continuous communication and cooperative network connection, knowledge and knowledge acquisition capacity. This eight factors had high loading at the .05 significant level and could be used to measure the public consciousness of university students in Bangkok. In the second part of the research, a training program to enhance public consciousness of students was developed using data from the first part as a database. A sample of 30 undergraduate students randomly selected from Srinakharinwirot University was included in the study. A one group pretest-postest design was employed and the resulted showed that after participating in the training program, students score significantly high than before participating in each factor and overall. Students also reported a high satisfactory score for the training program. | - |
dc.subject | จิตสาธารณะ | - |
dc.subject | นักศึกษา | - |
dc.subject | สถาบันอุดมศึกษา | - |
dc.title | การพัฒนากิจกรรมเพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา นิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | - |
dc.title.alternative | Development Activity of Public Consciousness of University’s Students in Bangkok Area | - |
dc.type | Article | - |
dc.description.abstractthai | การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาองค์ประกอบของจิตสาธารณะของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครและพัฒนากิจกรรมเพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ นิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี จากสถาบันอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2557 จานวน 624 คน และนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ระดับปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2557 จานวน 300 คนผลการวิเคราะห์สรุปได้ดังนี้ ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันจิตสาธารณะของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร พบว่า โมเดลการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันจิตสาธารณะ ประกอบด้วย8องค์ประกอบ ได้แก่ การมีวิสัยทัศน์ร่วมกันตระหนักถึงปัญหาที่เกิดขึ้น, ความรัก ความเอื้ออาทรและความสามัคคี, การมีส่วนร่วมในกิจกรรมสังคม, ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ, การยกย่องและให้เกียรติผู้อื่น, การมีมาตรฐานในการปฏิบัติงาน, การติดต่อสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเชื่อมโยงเครือข่ายความร่วมมือ, การมีองค์ความรู้และความสามารถในการแสวงหาความรู้มีค่าความเหมาะสมพอดีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีน้าหนักองค์ประกอบมาตรฐานอยู่ในเกณฑ์สูงอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และสามารถวัดองค์ประกอบจิตสาธารณะของนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานครได้ จากนั้นนาผลการวิจัยมาเป็นข้อมูลในการพัฒนากิจกรรมเพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะและทดลองใช้กิจกรรมกับกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนิสิตมหาวิทยาลัยศรีคนรินทรวิโรฒ จานวน 30 คน ในปีการศึกษา 2558 ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างคะแนนเฉลี่ยการจัดกิจกรรมเสริมสร้างจิตสาธารณะของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒก่อนและหลังการทดลอง พบว่า หลังการทดลองพบว่า มีคะแนนเฉลี่ยจิตสาธารณะรวมและรายด้านทุกด้านเพิ่มขึ้น เมื่อทาการทดสอบทางสถิติ พบความแตกต่างอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p=0.001) นอกจากนั้นนิสิตมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมในระดับมาก | - |
Appears in Collections: | EdAdm-Conference paper |
Files in This Item:
File | Size | Format | |
---|---|---|---|
Edu-Con-Anupon-K-smart6.pdf | 740.14 kB | View/Open |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.