Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28475
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฉัตรญา มุสิกสวัสดิ์-
dc.contributor.authorวสันต์ สกุลกิจกาญจน์-
dc.date.accessioned2023-06-13T09:52:17Z-
dc.date.available2023-06-13T09:52:17Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28475-
dc.descriptionรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 8-
dc.description.abstractThe objective of this research was to study Social Media Behavior: The Mediating Effect of Motivation and Satisfaction on Working Performance of Private Companies in Bangkok. Sample sizes are 400 employees. This research was using questionnaire as a tool to collect data from sampling group. The statistics for data analysis are percentage, mean, standard deviation and multiple regression analysis. The study results revealed that most employees are females in age group of 27-33 years old, being single, bachelor’s degree graduated, They have an average income 20,001 - 25,000 Baht and having work duration 1-5 years. The overall Social Media Behavior, Motivation, Satisfaction and Working Performance all have a high level. The Overall Social Media Behavior factors to be able to affecting the Motivation factors and Satisfaction factors. The overall Motivation factors are able to affecting the Satisfaction factors and Working Performance factors. And the overall Satisfaction factors are able to affecting the Working Performance factors by the statistical significant level of 0.05-
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์-
dc.subjectแรงจูงใจ-
dc.subjectความพึงพอใจ-
dc.subjectประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน-
dc.subjectSocial Media Behavior-
dc.subjectMotivation-
dc.subjectSatisfaction-
dc.subjectWorking Performance-
dc.titleพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ผ่านอิทธิพลการสร้างแรงจูงใจและความพึงพอใจ ซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร-
dc.title.alternativeSocial Media Behavior: The Mediating Effect of Motivation and Satisfaction on Working Performance of Private Companies in Bangkok-
dc.typeArticle-
dc.description.abstractthaiการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ผ่านอิทธิพลการสร้างแรงจูงใจและความ พึงพอใจซึ่งส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ พนักงานบริษัทเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติการวิเคราะห์เชิงถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า พนักงานที่แสดงความคิดเห็นส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 27-33 ปี สถานภาพโสด มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี มีรายได้อยู่ในช่วง 20,001 - 25,000 บาท มีระยะเวลาในการทำงาน 1-5 ปี มีความคิดเห็นต่อพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ การสร้างแรงจูงใจ ความพึงพอใจ และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยรวมอยู่ในระดับสูง โดยที่พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ มีอิทธิพลต่อ การสร้างแรงจูงใจ และความพึงพอใจ อีกทั้ง การสร้างแรงจูงใจ มีอิทธิพลต่อ ความพึงพอใจ และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน อีกทั้งความพึงพอใจ มีอิทธิพลต่อ ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05-
Appears in Collections:Bas-Conference paper

Files in This Item:
File SizeFormat 
Bas-Con-Chatya-M-smart8.pdf710.96 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.