Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28458
ชื่อเรื่อง: | การแสดงออกทางการเมืองของสมณะโพธิรักษ์ พ.ศ. 2518-2532 |
ชื่อเรื่องอื่นๆ: | Samana Bodhirak’s political expression since 1975-1989 |
ผู้แต่ง: | อุไรพร ค่ำจุน โดม ไกรปกรณ์ |
Keywords: | สมณะโพธิรักษ์ สันติอโศก การแสดงออกทางการเมือง พรรคพลังธรรม Samana Bodhirak Santi Asoke group Political expression Palangdharma Party |
วันที่เผยแพร่: | 2562 |
Abstract(TH): | บทความนี้ต้องการเสนอให้เห็นความเปลี่ยนแปลงของสมณะโพธิรักษ์ภายหลังจากการประกาศแยกตัวและขอลาออกจากการปกครองของมหาเถรสมาคม ที่มีผลต่อการแสดงออกทางการเมืองของสมณะโพธิรักษ์ รวมถึงความเกี่ยวพันกับพรรคพลังธรรมของพลตรีจำลอง ศรีเมือง เพื่อชี้ให้เห็นถึงอิทธิพลของสมณะโพธิรักษ์และกลุ่มสันติอโศกในการเข้าไปมีส่วนร่วมสนับสนุนและเคลื่อนไหวทางการเมือง รวมทั้งพยายามอธิบายถึงปัจจัยสำคัญและผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยศึกษาข้อมูลจากประมวลเอกสารกรณีสันติอโศก หนังสือพิมพ์ และหนังสือทั่วไป จากการศึกษาพบว่า สมณะโพธิรักษ์มีการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองและเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองร่วมกับพรรคพลังธรรมของพลตรีจำลอง ศรีเมือง ซึ่งทั้งคู่ต่างมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกันจากการแสวงหาหนทางในการปฏิบัติธรรมร่วมกันก่อนที่พลตรีจาลอง ศรีเมืองจะชักนาให้กลุ่มสันติอโศกเข้ามีส่วนร่วมทางการเมือง โดยมีการแสดงออกทางการเมืองที่เพิ่มมากขึ้นภายหลังจากคาตัดสินของมหาเถรสมาคมที่ให้สมณะโพธิรักษ์พ้นจากการเป็นภิกษุในพุทธศาสนา ส่งผลให้สมณะโพธิ์รักษ์ปราศจากข้อบังคับที่ห้ามพระสงฆ์เล่นการเมือง ซึ่งท่านสามารถแสดงความคิดเห็นทางการเมืองได้ตามสิทธิอันชอบธรรมในฐานะบุคคลหนึ่งๆ สมณะโพธิรักษ์และกลุ่มสันติอโศกจึงกลายเป็นแรงสนับสนุนสำคัญในการช่วยหาเสียงในกับพรรคพลังธรรม รวมถึงการเข้าไปมีบทบาทในพรรคพลังธรรมในฐานะสมาชิกพรรค สะท้อนให้เห็นถึงการชักนำทางการเมืองที่มาจากกลุ่มที่ศรัทธาในแนวทางปฏิบัติของท่านสมณะโพธิรักษ์ที่แม้ไม่ได้รับการยอมรับจากคณะสงฆ์ไทย แต่เป็นกลุ่มที่สามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงทางการเมืองได้ |
บทคัดย่อ: | This article tries to present the changes of the Samana Bodhirak after the announcement of schism from the Sangha Supreme Council of Thailand that effected Samana Bodhirak’s political expression, including relation to the Chamlong Srimuang’s Palangdharma Party for pointing out the influence of Bodhirak and Santi Asoke group in political movement, as well as trying to explain important factors and impacts that occurred by studying the information from the documents of the Santi Asoke case, newspapers and general books. According to the study, it found that Samana Bodhirak expressed political opinions, and joined the Palangdharma Party. Both he and Chamlong had close relationship via finding the way to practice the dharma together before Chamlong persuaded the Santi Asoke group to political movement. After the Sangha Supreme Council sentenced Bodhirak to be out of monkhood, he more expressed political opinions because he had no political restrictions about monk couldn’t involve in any political matters. Then, Samana Bodhirak and Santi Asoke group were therefore important supporters for electioneering to the Palangdharma Party, including having roles in the party as a party member. These political activities reflected influence of Bodhirak and his faithful followers leading the party’s way to political change. |
รายละเอียด: | รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 9 |
URI: | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28458 |
Appears in Collections: | His-Conference paper |
Files in This Item:
File | Size | Format | |
---|---|---|---|
His-Con-Uraiporn-K-smart9.pdf | 607.03 kB | View/Open |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.