Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28457
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชาติชาย มุกสง-
dc.date.accessioned2023-06-13T09:45:39Z-
dc.date.available2023-06-13T09:45:39Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28457-
dc.descriptionรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 9-
dc.description.abstractThis article uses historical methodology to analyze primary sources - in this case - the traditional medical treatise concerning the genital diseases, to be named, the book Parahmeha and Turawasa. Apart from this, western medical documents from the 19th century could be counted as primary source for this article. This article tries to explain the changing meaning of the genital diseases from a normal disease according to Thai medical theory to a disease causing by sexual wrongdoing according to western medical theory. Sexual wrongdoing thus was seen as a cause of genital diseases, which in turn were interpreted as a moral decline of the patients. This can explain, how SexuallyTransmitted Disease (STD) or venereal disease turned to be a moral measure in the Thai society around the middle of the 19th century.-
dc.subjectกามโรค-
dc.subjectคัมภีร์เวชศาสตร์-
dc.subjectศีลธรรม-
dc.subjectSexuallyTransmitted Disease (STD)-
dc.subjectThai traditional medicine treatise-
dc.subjectMoral-
dc.titleการเปลี่ยนแปลงความหมายของกามโรคในสังคมไทยทศวรรษ 2400-2440-
dc.title.alternativeThe Changing Concept of SexuallyTransmitted Disease in Thai Society, 1860s-1900s-
dc.typeArticle-
dc.description.abstractthaiบทความนี้ศึกษาด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์วิเคราะห์หลักฐานชั้นต้นคัมภีร์เวชศาสตร์โบราณของโรคเกี่ยวกับอวัยวะเพศอย่างคัมภีร์ประเมหะ ทุราวสา และเอกสารการแพทย์แผนตะวันตกร่วมสมัยในศตวรรษที่ 19 โดยประสงค์จะอธิบายให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของการให้ความหมายจากโรคทางกายที่เกิดกับอวัยวะเพศที่อธิบายตามทฤษฎีธาตุตามแนวคิดการแพทย์แผนไทยว่าเป็นเพียงความผิดปกติของโรคที่ไม่เกี่ยวกับความประพฤติผิดทางศีลธรรมเกี่ยวกับเรื่องเพศดังคาอธิบายภายหลังได้รับมุมมองการอธิบายตามแบบการแพทย์แผนตะวันตก ที่ให้ความสาคัญกับสาเหตุของโรคมาจากการมีเพศสัมพันธ์ที่นอกเหนือบรรทัดฐานของสังคมหรือผิดศีลธรรม และทาให้ความเจ็บป่วยกลายเป็นกามโรคที่ถูกให้ความหมายเชิงตีตราว่าเกิดจากความเสื่อมทางศีลธรรมอันดีของผู้ป่วยที่ทาให้เกิดโรคขึ้น จนกลายเป็นมาตรฐานทางศีลธรรมที่ทาให้กามโรคกลายเป็นมาตรวัดทางศีลธรรมของสังคมไทยขึ้นในราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา-
Appears in Collections:His-Conference paper

Files in This Item:
File SizeFormat 
His-Con-Chartchai-M-smart9.pdf790.31 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.