Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28441
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorหทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์-
dc.date.accessioned2023-06-13T09:41:09Z-
dc.date.available2023-06-13T09:41:09Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28441-
dc.descriptionการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6 วันที่ 17 มิถุนายน 2559-
dc.description.abstractThis research aims to study the self-practice on 12 core values of Thai people of Srinakharinwirot University’s undergraduate students and to seek strategies for promoting and self-practicing on these core values of Thai youth. The research tool was a questionnaire for a sample group who were 240 students of Faculty of Social Sciences, Faculty of Science, Faculty of Education, and Faculty of Humanity. The research findings found that the students practiced seven core values at the high level and two core values at the moderate level. The means of self-practice on 12 core values between the sample group and the researcher were different with the statistical significance level of .01 in seven cores. Moreover, the students moderately agreed on the announcement of the government’s 12 core values. The students also suggested that academic institutions played an important role to building an awareness of these core values, especially filial piety towards parents, guardians and teachers.-
dc.subjectการปฏิบัติตน-
dc.subjectค่านิยม-
dc.subjectSelf Practice-
dc.subject12 Core Values of Thai People-
dc.titleการศึกษาการปฏิบัติตามค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ-
dc.title.alternativeA Study of Self Practice on 12 Core Values of Thai People of Srinakharinwirot University’s Students-
dc.typeArticle-
dc.description.abstractthaiงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการปฏิบัติตนตามค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ ของนิสิตระดับปริญญาตรี และหาแนวทาง การส่งเสริมการปลูกฝังและปฏิบัติตนตามค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการของเยาวชนไทย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม สาหรับกลุ่มตัวอย่าง นิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะสังคมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ และคณะมนุษยศาสตร์ จานวน 240 คน ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างปฏิบัติตนตามค่านิยมหลักคนไทยในระดับมาก 10 ประการ และในระดับปานกลาง 2 ประการ ค่าคะแนนการปฏิบัติตนตามค่านิยมหลักคนไทยระหว่างกลุ่มตัวอย่างและของผู้วิจัย มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จานวน 7 ประการ โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการประกาศค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการของรัฐบาลในระดับปานกลางและเสนอแนะให้สถาบันการศึกษามีบทบาทในการส่งเสริมการปลูกฝังค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการ โดยเฉพาะความกตัญญู ต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์-
Appears in Collections:Soc-Conference paper

Files in This Item:
File SizeFormat 
Soc-Con-Hatairat-B-smart6.pdf602.05 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.