Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28436
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศุภณัฐ พานา-
dc.date.accessioned2023-06-13T09:41:09Z-
dc.date.available2023-06-13T09:41:09Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28436-
dc.descriptionรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 9-
dc.description.abstractThis research study aimed to studied and analyzed the historical empathy of pre-service teachers in Social studies. This is a survey research that the duration of the data collection was 4 weeks. The research procedure was divided into 2 phrases, phrase one was to develop tools used to collect historical empathy: a self-assessment test about perception of historical empathy and observation form, and phrase 2 was to collect data about perception of historical empathy of pre-service teachers. The target group composed of 120 pre-service teachers who divided into 2 groups: group one pre-service teachers who have not studied the historical methodology and evidence totaling 60 pre-service teacher and group two pre-service teachers who studied the historical methodology and evidence totaling 60 pre-service teachers. The result of the research could be summarized as follows; arithmetic mean (X̅) of self-assessment scores on perception of historical empathy of pre-service teachers in social studies Each element found Element 1, exposure to different perspectives, arithmetic mean was 5-6 points at the same level in all questions. Element 2: Historical context study had different levels of arithmetic in verse in question 5, group 1 was 6 points and group 2 was 5 points, and in the same level in question 6 that 5 points. Element 3, the link between the past and the present with the understanding arithmetic mean was 5-6 points at the same level in all questions. The guidelines for promoting historical empathy was (1) the preparation of the curriculum was the background of the pre-service teacher should be checked regarding the ability to interpret historical evidence, practical interpretation of historical evidence, classification of courses, the historical methodology and evidence were subjects learned during the early years, criteria for selecting content and historical evidence and organized activities in classrooms with computers or allow students to use communication equipment. (2) The preparation of the instruction had criteria for the selection of historical evidence used in the study and encouraged self-study other historical evidence, had a process of enhancing the ability to interpret historical evidence and questioning to help pre-service teacher to think and participate in activities.-
dc.subjectความรู้สึกทางประวัติศาสตร์-
dc.subjectหลักสูตร-
dc.subjectการจัดการเรียนการสอน-
dc.subjectนิสิตครูสังคมศึกษา-
dc.subjectHistorical empathy-
dc.subjectcurriculum and instruction-
dc.subjectsocial studies-
dc.titleการศึกษาและการวิเคราะห์แนวทางการส่งเสริมการรับรู้ความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ ของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา-
dc.title.alternativeA study and analysis of guidelines for promoting historical empathy of pre-service teachers in social studies-
dc.typeArticle-
dc.description.abstractthaiการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์แนวทางการส่งเสริมการรับรู้ความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษาซึ่งเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีระยะเวลาในการเก็บข้อมูล 4 สัปดาห์ การดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ คือ ระยะการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลการรับรู้ความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ ซึ่งได้แก่ แบบประเมินตนเองเกี่ยวกับการรับรู้ความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ และแบบสังเกตพฤติกรรมนิสิตชั้นปีที่ 3 ที่กำลังเรียนวิชาวิธีการและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และระยะการเก็บข้อมูล กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ นิสิตหลักสูตรสังคมศึกษา ระดับปริญญาบัณฑิตทั้งสิ้นจำนวน 120 คน แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 นิสิตที่ยังไม่ได้เรียนวิชาวิธีการและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จำนวน 60 คน และกลุ่มที่ 2 นิสิตที่เรียนวิชาวิธีการและหลักฐานทางประวัติศาสตร์แล้ว จำนวน 60 คน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ค่ามัชฌิมเลขคณิต (X̅) ของคะแนนแบบประเมินตนเองเกี่ยวกับการรับรู้ความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ของนิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา ในแต่ละองค์ประกอบพบว่า องค์ประกอบที่ 1 การเปิดรับมุมมองที่แตกต่าง มีค่ามัชฌิมเลขคณิตในระดับ 5-6 คะแนน ซึ่งทั้งสองกลุ่มอยู่ในระดับเดียวกัน องค์ประกอบที่ 2 การศึกษาบริบททางประวัติศาสตร์มีค่ามัชฌิมเลขคณิตต่างระดับกัน ในข้อที่ 5 คือ กลุ่มที่ 1 ระดับ 6 คะแนน กลุ่มที่ 2 ระดับ 5 คะแนน และมีระดับเดียวกันในข้อที่ 6 คือ 5 คะแนน ทั้งสองกลุ่ม และในองค์ประกอบที่ 3 การเชื่อมโยงอดีตกับปัจจุบันด้วยความเข้าใจ มีค่ามัชฌิมเลขคณิตในระดับ 5-6 คะแนน ซึ่งทั้งสองกลุ่มอยู่ในระดับเดียวกัน แนวทางในการส่งเสริมการรับรู้ความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ คือ (1) ด้านหลักสูตร ตรวจสอบภูมิหลังของนิสิตเกี่ยวกับความสามารถในการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ฝึกฝนการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ จัดลำดับให้รายวิชาวิธีการและหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็นวิชาที่ได้เรียนในช่วงชั้นปีแรกๆ ระบุเกณฑ์การคัดเลือกเนื้อหาและหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และจัดกิจกรรมในห้องเรียนที่มีคอมพิวเตอร์หรืออนุญาตให้นิสิตใช้อุปกรณ์ในการสื่อสาร (2) ด้านการเรียนการสอน มีเกณฑ์ในการคัดเลือกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ใช้ในการศึกษา กระตุ้นให้มีการค้นคว้าหลักฐานทางประวัติศาสตร์อื่น ๆ เพิ่มเติมด้วยตนเอง มีกระบวนการในการส่งเสริมความสามารถในการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และมีการตั้งคำถามเพื่อช่วยเหลือให้นิสิตได้ฝึกคิดและเข้าร่วมกิจกรรม-
Appears in Collections:Soc-Conference paper

Files in This Item:
File SizeFormat 
Soc-Con-Suphanat-P-smart9.pdf1.06 MBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.