Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28412
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนลินี หนูเอียด-
dc.contributor.authorธัญญาลักษณ์ รตนรณกร-
dc.contributor.authorโสภิดา ฉัตรเที่ยง-
dc.contributor.authorอำนาจ ไชยวงศ์-
dc.contributor.authorพรรษวัชร วรมิศร์-
dc.contributor.authorสุธาทิพย์ ชวนะเวสสกุล-
dc.contributor.authorชมชนก เลี้ยงวัณพร-
dc.date.accessioned2023-06-09T08:49:39Z-
dc.date.available2023-06-09T08:49:39Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28412-
dc.descriptionการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTs ครั้งที่ 5-
dc.description.abstractThis research aims to study 1) the changes of land use along Saen Saeb canal in 2538 B.E. and 2557 B.E. 2) To quantify water pollution caused by land use. 3) To identify the impact area from water pollution along Saen Saeb. By using aerial photographs of 2538 B.E. and satellite image provided by Google Earth 2557 B.E. associated with visual interpretation technique to classified land use. Next, the water pollution according to land use types are analyzed based on the classified land use information and water pollution information. Finally, the analyzed information be identify into districts boundary in order to clarify the authority control. The result shows the land use changed from 2538 B.E. to 2557 B.E.; abandoned area changes to residence, residence changes to service function. It is obviously disclose the direct affect of land use change on water pollution which represented by an evident as the highest impact area in 2538 B.E. is Ratchathewi district with 30.10% sewerage in contrast the highest impact area in 2557 B.E. is pom Prap Sattru Phai district sewerage.-
dc.subjectคลองแสนแสบ-
dc.subjectการปล่อยน้้าเสีย-
dc.subjectมลพิษทางน้้า-
dc.subjectการใช้ประโยชน์ที่ดิน-
dc.subjectSaen Saeb-
dc.subjectSewerage-
dc.subjectWater pollution-
dc.subjectLand use change-
dc.titleศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ก่อให้เกิดมลพิษทางน้า กรณีศึกษา: คลองแสนแสบ-
dc.title.alternativeThe Impact of Land Use Change on Water Pollution. Case Study: Saen Saeb Canal-
dc.typeArticle-
dc.description.abstractthaiงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณริมคลองแสนแสบ ช่วง พ.ศ. 2538 และ พ.ศ. 2557 2) หาปริมาณมลพิษทางน้าที่เกิดจากการใช้ประโยชน์ที่ดิน และ 3) หาพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากมลพิษทางน้ำรอบคลองแสนแสบ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยนี้ ได้แก่ รูปถ่ายทางอากาศ พ.ศ. 2538 และภาพถ่ายดาวเทียมจาก Google Earth พ.ศ. 2557 และใช้เทคนิคการแปลภาพด้วยสายตาเพื่อวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินระหว่าง พ.ศ. 2538 และ พ.ศ. 2557 จากนั้นนาข้อมูลการจำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินมาวิเคราะห์ปริมาณการปล่อยมลพิษ โดยใช้ข้อมูลปริมาณและลักษณะน้ำทั้งชุมชน จากสมาคมสิ่งแวดล้อมไทย และแยกแยะผลการวิเคราะห์เป็น 11 เขตปกครอง ผลการวิจัยพบว่า มีการใช้ประโยชน์ที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงจาก พ.ศ. 2538 ไป พ.ศ. 2557 คือ พื้นที่ว่างเปล่ามีการเปลี่ยนแปลงเป็นบ้านเรือนมากขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงจากบ้านเรือนเป็นอาคารสำนักงานมากขึ้น และการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลโดยตรงโดยการปล่อยมลพิษทางน้ำมากขึ้น พบว่าพื้นที่ที่มีการปล่อยมากที่สุดในปี 2538 คือ เขตราชเทวี ปล่อย 30.10% ในปี 2557 คือ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ปล่อย 29.99 %-
Appears in Collections:Geo-Conference paper

Files in This Item:
File SizeFormat 
Geo-Con-Nalinee-N-smart5.pdf594.85 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.