Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28411
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกชกร คชวิเศษ-
dc.contributor.authorนริศรา ไปยโพศรี-
dc.contributor.authorวรันรัชพร อรัญรัชชพิศาล-
dc.contributor.authorวรุฒ มั่นถึง-
dc.contributor.authorสิทธิโชค ชูบาล-
dc.contributor.authorสุธาทิพย์ ชวนะเวสสกุล-
dc.contributor.authorชูเดช โลศิริ-
dc.date.accessioned2023-06-09T08:49:39Z-
dc.date.available2023-06-09T08:49:39Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28411-
dc.descriptionการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTs ครั้งที่ 5-
dc.description.abstractA noise pollution plays as an important problem threating on quality of life. A major cause of that pollution in the urban area is the cars. Nowadays, the amount of cars on the roads has increased dramatically following by the number of population and demand. Asokmontri road is one of the distinctive examples of the noise pollution from the use of the cars which affects on all activities along the road. The objectives of this study are to study the impacts of the noise pollution on human living and to study properties of the tree to prevent and reduce the noise by using mathematic model and 3D virtual reality model created by the Autodesk InfraWorks 360. The result can be found that trees can absorb the noise pollution and should be settled between a source and a receiver. The properties of trees such as the height, length and width of the planting and space from three kinds of trees can decrease the noise pollution slightly. However, the study shows the importance of trees to reduce the amount of noise may cause a hazardous to health.-
dc.subjectการออกแบบสิ่งแวดล้อม-
dc.subjectพื้นที่สีเขียว-
dc.subjectการควบคุมเสียง-
dc.subjectenvironmental design-
dc.subjectgreen belt-
dc.subjectnoise control-
dc.titleการลดมลพิษทางเสียงด้วยแถบต้นไม้บนถนนอโศกมนตรี-
dc.title.alternativeNoise Pollution Reduction through a Tree Belt on Asokmontri Road-
dc.typeArticle-
dc.description.abstractthaiมลพิษทางเสียงเป็นปัญหาอย่างหนึ่งที่กาลังคุกคามคุณภาพชีวิตของมนุษย์ โดยตัวการสาคัญที่ก่อให้เกิดมลพิษทางเสียในพื้นที่เมือง คือ รถยนต์ ในปัจจุบันปริมาณรถยนต์บนท้องถนนได้เพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของจานวนประชากรและความต้องการ ถนนอโศกมนตรีเป็นถนนหนึ่งที่เป็นตัวอย่างของการเกิดมลพิษทางเสียงจากการใช้รถยนต์บนท้องถนน ที่ส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบกิจกรรมโดยรอบ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลกระทบของมลพิษทางเสียงต่อมนุษย์บนถนนอโศกมนตรี และศึกษาถึงสมบัติของต้นไม้ในการปูองกันและลดมลพิษทางเสียง ด้วยสมการทางคณิตศาสตร์และแบบจาลองสามมิติเสมือนจริง ด้วยโปรแกรม Autodesk InfraWorks 360 ผลการศึกษาพบว่า ต้นไม้ที่สามารถลดมลพิษทางเสียงได้ต้องตั้งอยู่ระหว่างแหล่งกาเนิดเสียงกับผู้รับสัญญาณ ตลอดจนสมบัติต่างๆ ของต้นไม้ เช่น ความสูง ความยาวและความกว้างของแนวปลูก และระยะห่างในการปลูก ของต้นไม้ทั้ง 3 ชนิดในการลดมลพิษทางเสียงได้ ถึงแม้ว่าจะลดระดับมลพิษได้ไม่มากนัก แต่การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นถึงความสาคัญของต้นไม้ที่ช่วยลดความดังของเสียงที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ-
Appears in Collections:Geo-Conference paper

Files in This Item:
File SizeFormat 
Geo-Con-Kochakorn-K-smart5.pdf509.74 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.