Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28409
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิตรทิวา พิมพ์สุวรรณ-
dc.contributor.authorชัยณรงค์ ปิงเมือง-
dc.contributor.authorณัฐนันท์ จุยคำวงศ์-
dc.contributor.authorณัฐวุฒิ เหมือนแก้ว-
dc.contributor.authorนัทธมน ขอนแก่น-
dc.contributor.authorชูเดช โลศิริ-
dc.date.accessioned2023-06-09T08:49:39Z-
dc.date.available2023-06-09T08:49:39Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28409-
dc.descriptionการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTs ครั้งที่ 5-
dc.description.abstractThe aim of this study is to identify factors which cause the spatial diffusion of Durian Seed Borer (Mudaria luteileprosa Hollway) in Chantaburi by climatic factors such as an average of rainfall, temperature, and humidity from 2003 to 2012 throughout the comparison to the three factors and outbreaks of the Durian Seed Borer. Moreover, this study applies a geographic information system (GIS) to analyze areas at risk. The result can be discovered that those three factors from March to July are consistent with the disffusion period. The risk areas from the Durian Seed Borer durian analyzed by GIS are Khao Kitchchakut District, Kaeng hang Maeo District, and Makham District, respectively.-
dc.subjectการแพร่ระบาด-
dc.subjectแมลงศัตรูทุเรียน-
dc.subjectปัจจัยเสี่ยง-
dc.subjectภูมิอากาศ-
dc.subjectDiffusion-
dc.subjectDurian Seed Borer-
dc.subjectRisk factors-
dc.subjectClimate-
dc.titleการหาปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของแมลงศัตรูทุเรียน-
dc.title.alternativeIdentification of Risk Factors for Durian Seed Borer Diffusion-
dc.typeArticle-
dc.description.abstractthaiการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดการแพร่ระบาดของแมลงศัตรูทุเรียนในพื้นที่จังหวัดจันทบุรี ด้วยปัจจัยทางภูมิอากาศ ได้แก่ ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย อุณหภูมิเฉลี่ย และความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย ในระหว่างปี 2546 - 2555 ด้วยการเปรียบเทียบปัจจัยทั้งสามกับระยะเวลาที่เสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของแมลงศัตรูทุเรียน และการประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เพื่อหาพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดการแพร่ระบาดของแมลงศัตรูทุเรียน การศึกษาพบว่าปริมาณน้ำฝน อุณหภูมิ และความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ยในระว่างเดือนมีนาคมกับกรกฎาคมมีความสอดคล้องกับการแพร่ระบาดของแมลง และพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของแมลงศัตรูทุเรียน คือ บริเวณอำเภอเขาคิชฌกูฎ อำเภอแก่งหางแมว และอำเภอมะขาม-
Appears in Collections:Geo-Conference paper

Files in This Item:
File SizeFormat 
Geo-Con-Jittiwa-P-smart5.pdf652.84 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.