Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28398
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจุฑาธิปต์ จันทร์เอียด-
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ พงษ์พรรณา-
dc.contributor.authorชัชชฎา เตชะนิรุทธ์-
dc.contributor.authorปิยะธิดา บรรลุศิลป์-
dc.contributor.authorพรรณวดี สอาดเอี่ยม-
dc.contributor.authorพัชรพล ศรีเทพ-
dc.contributor.authorภูษณิศา นัยเนตร์-
dc.contributor.authorวรัญญา เผือกสวัสดิ์-
dc.contributor.authorหทัยชนก เครือพิมาย-
dc.date.accessioned2023-06-02T09:18:59Z-
dc.date.available2023-06-02T09:18:59Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28398-
dc.description.abstractThe research named Guidelines for Creative Tourism Development for the Elderly in Nakorn Nayok Province. The purposes of this research were to study potential of the creative tourist attraction for the elderly tourist of Nakorn Nayok province, to study requirements of government sector, private sector, people and opinion of tourist on creative tourism for elderly tourist of Nakorn Nayok province and to present guidelines for creative tourism development for the elderly tourist of Nakorn Nayok province. The samples were government sector, private sector, people and tourist. Tourism resource checklists, facilities in tourist attraction checklists, an in-depth interview and a questionnaire were used as the tools. The results were as followed; 1. From checking potential of creative tourist attraction that appropriate for the elderly tourist in Nakorn Nayok province. There were appropriate places as followed; The Royal Nature Conservative Center, Suan La Ong Fa, Suan Sri Ya, Kao Kok Temple, 9 Temples in Ban Na District, Fang Klong Temple Community, Wongsanit Ashram, Wangree Resort and Thung Yai Pak Phli. 2. From studying requirements of government sector, private sector, people and surveying opinion of tourist found that Nakorn Nayok province had appropriate area that could arrange creative tourism activity by focusing on creative tourism that was eco-friendly and instill conscience through activity that could make a valuable experience to tourist. 3. Guidelines for creative tourism development for the elderly in Nakorn Nayok province as followed; 1) Appropriateness of tourist attraction should develop tourism based on dimension of creative learning. 2) Appropriateness for creative tourism activity development. 3) Physical infrastructure development to facilitate elderly. 4) Development of the area managed for sustainable tourism.-
dc.languageth-
dc.publisherคณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ-
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์-
dc.subjectผู้สูงอายุ-
dc.subjectนครนายก-
dc.subjectCreative Tourism-
dc.subjectElderly-
dc.subjectNakorn Nayok Province-
dc.titleแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้สูงอายุในจังหวัดนครนายก-
dc.typeWorking Paper-
dc.description.abstractthaiการวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้สูงอายุในจังหวัดนครนายก มี ความมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อศึกษาศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์สำหรับนักท่องเที่ยวสูงอายุของ จังหวัดนครนายก เพื่อศึกษาความต้องการของภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน และความคิดเห็นของ นักท่องเที่ยวที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์สำหรับนักท่องเที่ยวสูงอายุของจังหวัดนครนายก และเพอื่ เสนอ แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์สำหรับนักท่องเที่ยวสูงอายุของจังหวัดนครนายก โดยมีกลุ่ม ตัวอย่างคือ ภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน และนักท่องเที่ยว เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบตรวจสอบ ทรัพยากรการท่องเที่ยว แบบตรวจสอบสิ่งอำนวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยว แบบสัมภาษณ์เชิงลึก และ แบบสอบถาม ผลวิจัยพบว่า 1. จากการตรวจสอบศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่เหมาะสมสำหรับนักท่องเที่ยว สูงอายุในจังหวัดนครนายก มีสถานที่ที่เหมาะสมดังนี้ ศูนย์ภูมิรักษ์ธรรมชาติ สวนละอองฟ้า สวนศรียา วัดเขา คอก วัด 9 แห่งในอำเภอบ้านนา ชุมชนวัดฝั่งคลอง อาศรมวงษ์สนิท วังรี รีสอร์ท และทุ่งใหญ่ปากพลี 2. จากการศึกษาความต้องการของภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน และการสำรวจความคิดเห็นของ นักท่องเที่ยวพบว่า พื้นที่ในจังหวัดนครนายกมีความเหมาะสม สามารถจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ โดยเน้นรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และปลูกจิตสำนึกผ่านกิจกรรมที่สามารถ สร้างประสบการณ์ที่มีคุณค่าแก่นักท่องเที่ยว 3. แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์สำหรับผู้สูงอายุในจังหวัดนครนายก ดังนี้ 1) ด้าน ความเหมาะสมของแหล่งท่องเที่ยว ควรพัฒนาการท่องเที่ยวให้ตั้งอยู่บนมิติของการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ 2) ด้านความเหมาะสมสำหรับพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 3) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทาง กายภาพเพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุ 4) การพัฒนาการจัดการพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวเพื่อความยั่งยืน-
Appears in Collections:Ece - Senior Projects

Files in This Item:
File SizeFormat 
Ece-Jutarat-P-2560.pdf6.07 MBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.