Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28367
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวัชรา ปุณเรศ-
dc.date.accessioned2023-05-19T09:11:07Z-
dc.date.available2023-05-19T09:11:07Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/28367-
dc.descriptionโครงการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ SMARTS III-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study Changes in Bangkok’s residents behaviors from Impacts of The Thai Government Policy for Costs of Livings Alleviation. This research utilized qualitative method with in-depth interviews of 50 samples. The results of the hypothesis testing found that: The majority has shown in positive attitudes toward the government’s policy to reduce the burden of living. They commented that this policy help them to reduce their expenses. In addition, these policies also influenced in the changing of other behaviors such as travel behavior, spending behaviors and energy consumption. However, these have not sustained. Besides,it was found that the Thai government policy for costs of living alleviation has several limitations that should be corrected for the benefit of the public.-
dc.subjectค่าครองชีพ-
dc.subjectพฤติกรรม-
dc.subjectCosts of living government policy alleviation-
dc.subjectBehavior-
dc.titleการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในกรุงเทพมหานคร ที่เกิดจากนโยบายลดภาระค่าครองชีพของรัฐบาล-
dc.title.alternativeChanges in Bangkok’s Residents Behaviors from Impacts of the Thai Government Policy for Costs of Livings Alleviation-
dc.typeArticle-
dc.description.abstractthaiการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย เพื่อศึกษาทัศนคติและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในกรุงเทพมหานครที่เกิดจากนโยบายลดภาระค่าครองชีพของรัฐบาล โดยอาศัยระเบียบวิธีเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 50 คน ผลการวิจัยในภาพรวม พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติเชิงบวกต่อนโยบายลดภาระค่าครองชีพ โดยมีความคิดเห็นว่านโยบายดังกล่าวช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายของประชาชน และส่งผลให้พวกเขามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งด้านการเดินทาง การใช้จ่าย และการใช้พลังงาน ที่สอดคล้องกับนโยบายมากยิ่งขึ้น แต่ไม่ได้ส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ยังพบว่ามาตรการต่าง ๆ นั้นยังมีข้อบกพร่องบางประการที่ควรได้รับการปรับปรุงแก้ไข เพื่อประโยชน์สูงสุดที่ประชาชนควรได้รับ และเพื่อให้นโยบายลดภาระค่าครองชีพประสบความสำเร็จตรงตามวัตถุประสงค์มากที่สุด-
Appears in Collections:Bas-Conference paper

Files in This Item:
File SizeFormat 
Bas-Con-Watchara-P-smart3-p264.pdf305.01 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.