Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27900
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจารุวรรณ ขำเพชรth_TH
dc.date.accessioned2023-02-15T03:02:02Z-
dc.date.available2023-02-15T03:02:02Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27900-
dc.descriptionงบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี 2563th_TH
dc.description.abstractThailand has fully entered the aging society since 2016, with 16.5% of the elderly and the advancement in medical science making the population live longer than ever. However, the deteriorating physical condition and changing society affect the lives of the elderly as well. The study of creating a city of equality and thoroughness for the elderly in the city has the objectives of studying the urban lifestyle of the elderly and to find a model and guidelines that are suitable for a comprehensive consideration of Thailand's urban areas. The study area is the urban area in the Khlong Toey community, lock no. 19-22. The study method is to collect document information on history, background, area coexistence and socioeconomic information, and data from field visits participatory observation, in-depth interviews with 6 elderly persons. The results show that the elderly in the Khlong Toey community in lock no. 19-22 is a legend of the slum community in Thailand. Khlong Toei was established in the year 1943 by expropriating land in Khlong Toei and Bangchak sub-districts for use in maritime transport and later upgraded to the Port of Thailand. The elderly in the Khlong Toey community in lock no. 19-22 lives the life of the elderly in urban areas on the flats in their rooms. They rarely participate in public activities. The relationship between the elderly and the outside areas is extremely loose; besides going to a doctor's appointment, they are infrequently seen outside the community. There is no technological innovation to facilitate their lives. The elderly have demanded the development of urban areas so that their standard of living can be raised to the same level as others. Arranging for the elderly to come down to relax by creating a pedestrian crossing using intelligent technology and a residence with the right environment will surely fulfill the elderly’s desire.-
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.titleการสร้างเมืองแห่งความเท่าเทียมและทั่วถึงเพื่อผู้สูงอายุในเมืองth_TH
dc.typeTechnical Reportth_TH
dc.subject.keywordชุมชนแออัดth_TH
dc.subject.keywordชุมชนคลองเตยth_TH
dc.subject.keywordผู้สูงอายุth_TH
dc.description.abstractthaiประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มตัวมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 ด้วยจำนวนผู้สูงอายุ ร้อยละ 16.5 และความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ทำให้ประชากรมีอายุยืนยาวมากกว่าเดิม แต่ด้วยสภาพ ร่างกายที่เสื่อมลงและสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปล้วนส่งผลต่อการใช้ชีวิตของสูงอายุตามไปด้วย การศึกษาเรื่อง การสร้างเมืองแห่งความเท่าเทียมและทั่วถึงเพื่อสูงอายุในเมืองมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานวัตกรรมการใช้ชีวิต เมืองของผู้สูงอายุ และการศึกษาเพื่อหารูปแบบและแนวทางที่เหมาะสมกับการนำมาพิจารณาพื้นที่เมืองของ ไทยอย่างครอบคลุมโดยพื้นที่ในการศึกษาคือพื้นที่เมืองในชุมชนคลองเตย ล็อค 19-22 วิธีการศึกษาคือการเก็บ ข้อมูลเอกสารในเรื่องประวัติศาสตร์ ความเป็นมาการอยู่ร่วมกันในพื้นที่และข้อมูลเศรษฐกิจสังคม และการเก็บ ข้อมูลจากการลงพื้นที่ภาคสนาม การสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมการสัมภาษณ์เจาะลึกกับผู้สูงอายุจำนวน 6 คน ผลการศึกษาพบว่าผู้สูงอายุในชุมชนคลองเตยล็อค 19-22 ชุมชนคลองเตยเป็นตำนานของชุมชนแออัดในประเทศไทย โดยคลองเตยกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ.2486 โดยการเวนคืนที่ดินตำบลคลองเตยและบางจากเพื่อใช้ในกิจการขนส่งทางเรือและต่อมาได้ยกระดับเป็นการท่าเรือแห่งประเทศไทย และผู้สูงอายุในชุมชนคลองเตย ล็อค 19-22 มีการใช้ชีวิตตามแบบผู้สูงอายุในชุมชนเมืองที่อยู่บนแฟลตในห้องของตน จะมาร่วมกิจกรรมส่วนรวมเฉพาะที่จำเป็น การออกไปสัมพันธ์กับพื้นที่เมืองด้านนอกมีน้อยมาก นอกจากการไปพบแพทย์ตามนัดหมายเท่านั้น มิได้มีนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีมาช่วยในการใช้ชีวิต และผู้สูงอายุต่างมีข้อเสนอใน การพัฒนาพื้นที่เมืองเพื่อให้ผู้สูงอายุใช้ชีวิตได้อย่างเท่าเทียม โดยการจัดให้ผู้สูงอายุได้ลงมาผ่อนคลาย การจัดทำทางข้ามถนนโดยใช้เทคโนโลยีอัจฉริยะการจัดทำที่พักอาศัยที่มีสภาพแวดล้อมเหมาะสมth_TH
Appears in Collections:Soc-Technical Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jaruwan_K_R443902.pdf6.77 MBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.