Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27865
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฐิติพัชร์ ธนรัชต์ธํารงกุลth_TH
dc.contributor.authorกชมาศ แซ่เตียวth_TH
dc.contributor.authorบุษราคัม กลั่นน้ำทิพย์th_TH
dc.contributor.authorสุรพงษ์ เพิ่มพลth_TH
dc.contributor.authorชุติกาญจน์ นาคนพคุณth_TH
dc.date.accessioned2023-02-02T10:16:40Z-
dc.date.available2023-02-02T10:16:40Z-
dc.date.issued2565-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27865-
dc.descriptionThe 4th BAs National Conference 2022 การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 (ในความร่วมมือ 5 สถาบัน)th_TH
dc.description.abstractThe objectives of this project were to develop processed agricultural products from toddy palm and to design activities and agricultural learning stations for the Palm Sugar Village. This was practical research taking place at the Palm Sugar Village, Pak Nam Sub-district, Bang Khla District, Chachoengsao Province, Thailand, with 40 participants which consist of farmers, community merchants, academics, and tourists. This research used purposive sampling for choosing members of population of the research, and used in-depth surveys, nonparticipation observation and interviews with the stakeholders in product development and tourism activities for data collection. Then, organized a pilot tourism activities test. As for the data analysis part, we analyzed the qualitative data by descriptive and narrative The results of the research revealed that the community had their own unique ways and wisdom in terms of planting, caring for and collecting palm sugar and processing palm sugar into products. The product made of toddy palm that we developed was the toddy palm boba, and the activities and learning stations we developed consisted of 3 stations, 1) a station for basic knowledge about palm trees. 2) a station for making creative products from coconut shells and 3) a station for processing toddy palm into products. The results of the pilot tourism activities test showed that the overall performance was a high quality. The developed tourism innovation was at good. The pilot tourists were satisfied with the pilot tourism activities and had suggestions on how to improve the community-based tourism by improving the tourist facilities and develop the activities to be more various and efficientth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherคณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.titleการพัฒนาสินค้าแปรรูปจากลูกตาลและกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว หมู่บ้านน้ำตาลสด จังหวัดฉะเชิงเทราth_TH
dc.title.alternativeA DEVELOPMENT PROCESSED PRODUCTS FROM TODDY PALM AND TOURISM PROMOTION ACTIVITIES, SUGAR VILLAGE, CHACHOENGSAO PROVINCEth_TH
dc.typeWorking Paperth_TH
dc.subject.keywordสินค้าเกษตรแปรรูปth_TH
dc.subject.keywordลูกตาลth_TH
dc.subject.keywordกิจกรรมการท่องเที่ยวth_TH
dc.subject.keywordฐานการเรียนรู้th_TH
dc.subject.keywordหมู่บ้านนํ้าตาลสดth_TH
dc.subject.keywordAgricultural productth_TH
dc.subject.keywordToddy palmth_TH
dc.subject.keywordTourism activitiesth_TH
dc.subject.keywordLearning baseth_TH
dc.subject.keywordSugar Villageth_TH
dc.description.abstractthaiงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสินค้าเกษตรแปรรูปจากลูกตาลและออกแบบกิจกรรมและฐานการเรียนรู้เชิง เกษตรของหมู่บ้านน้ำตาลสด เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยพื้นที่ในการวิจัย คือ ชุมชนหมู่บ้านนํ้าตาลสด ตําบล ปากน้ำ อําเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา กลุ่มผู้มีส่วนร่วมในการวิจัย ได้แก่ เกษตรกร ชุมชนผู้ประกอบการแปรรูป ลูกตาลนักวิชาการ และนักท่องเที่ยวนําร่อง จํานวน 40 คน ด้วยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง วิธีการเก็บ รวบรวมข้อมูล ได้แก่ การสํารวจพื้นที่เชิงลึก การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียใน การพัฒนาสินค้าและกิจกรรมการท่องเที่ยว และการทดสอบกิจกรรมท่องเที่ยวนําร่อง และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ด้วยการบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัย พบว่า ชุมชนมีวิถีชีวิต ภูมิปัญญา และอัตลักษณ์ทางการเกษตรในด้านการปลูก ดูแล และเก็บผลผลิตจากตาลโตนดและแปรรูปผลิตภัณฑ์จากตาล การพัฒนาสินค้าเกษตรสินค้าแปรรูปจากลูกตาลคือไข่มุกลอนตาล และกิจกรรมและฐานการเรียนรู้ประกอบด้วย 3 ฐานกิจกรรม ได้แก่ 1) ฐานกิจกรรมการเรียนรู้ข้อมูลเบื้องต้นของต้น ตาล 2) ฐานกิจกรรมการประดิษฐ์ผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จากกะลามะพร้าว และ 3) ฐานกิจกรรมการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากลอนตาล ผลการทดสอบกิจกรรมท่องเที่ยวนําร่อง พบว่า ผลการปฏิบัติงานภาพรวมมีคุณภาพดีมาก ผลสําเร็จของ การพัฒนาการจัดการนวัตกรรมการท่องเที"ยวอยู่ในภาพรวมที่ดี นักท่องเที่ยวนําร่องมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมที่เข้า ร่วมทดสอบ และมีข้อเสนอแนะในการจัดกิจกรรมท่องเที่ยวของชุมชน โดยการปรับปรุงสิ่งอํานวยความสะดวกทางการ ท่องเที่ยวและต่อยอดกิจกรรมให้มีความหลากหลายและมีประสิทธิภาพth_TH
Appears in Collections:Ece - Conference paper

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ece-Thitipat-T-2565.pdf265.34 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.