Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27793
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภรณี ศรีรมรื่นth_TH
dc.contributor.authorมติกา ลวดเงินth_TH
dc.contributor.authorสุฑามาศ ล้อปิยะกุลth_TH
dc.date.accessioned2023-01-13T08:31:15Z-
dc.date.available2023-01-13T08:31:15Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27793-
dc.description.abstractThis engineering project was aimed to study the thermal and mechanical properties of epoxidized natural rubber (ENR)/poly(propylene terepthalate-co-lactic acid) (PPT-co-PLA) blend. Tin(II)octoate was used as the catalyst in this mechanical blending. The ratios of ENR:PPT-co-PLA 4:1, 2:1 and 1:1 by weight were varied in order to study the glass transition temperature (Tg), thermal degradation, break energy and tensile strength. Thermal property by DSC technique showed the partial compatibility between ENR and PPT-co-PLA. It was found that the Tgs of the polymer blends were in the range of 63-68°C. For TGA, decomposed temperature of polymer blends decreased as an increase in PPT-co-PLA composition. DTGA result indicated that ENR:PPT-co-PLA 2:1 was the highest crosslink efficiency sample which may, resulted in the highest break energyMoreover, the microscopic analysis at 10x, 40x and 100x represented the best dispersion of copolymer in ENR at the ratio of 2:1.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.titleการศึกษาสมบัติทางความร้อนและสมบัติเชิงกลของพอลิเมอร์ผสมของยางธรรมชาติอีพ๊อกซิไดซ์กับพอลิพรอพิลีนเทเรฟทาเลตโคพอลิแลกติกแอซิดth_TH
dc.title.alternativeStudy of thermal and mechanical properties of epoxidized natural rubber/poly (propylene terephthalate-co-lactic acid) blendth_TH
dc.typeWorking Paperth_TH
dc.subject.keywordยางธรรมชาติอีพ๊อกซิไดซ์th_TH
dc.subject.keywordสมบัติทางความร้อนth_TH
dc.description.abstractthaiโครงงานวิศวกรรมนี้ได้ศึกษาสมบัติทางความร้อน และสมบัติเชิงกลของโคพอลิเมอร์ชนิดพอลิพรอพิลีนเทเรฟทาเลตโคพอลิแลกติกแอซิด (PPT-co-PLA) ที่มีผลต่อสมบัติของยางธรรมชาติอีพ๊อกซิไดซ์ (ENR) ใช้เทคนิคการผสมแบบเชิงกล (mechanical blending)และใช้ Tin(II)octoate เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ทาการผสมในอัตราส่วนของยาง ENR ต่อโคพอลิเมอร์ (PPT-co-PLA) ที่ 4:1 2:1 และ 1:1 โดยน้าหนัก จากผลการทดสอบทางความร้อนด้วยเทคนิค DSC พบว่ายาง ENR ผสมเข้ากันได้บางส่วนกับโคพอลิเมอร์ (PPT-co-PLA) ซึ่งส่งผลให้พอลิเมอร์ผสมแสดงค่า Tg 2 ค่า คือ Tg ของยาง ENR และ Tg ของโคพอลิเมอร์ (PPT-co-PLA) โดย Tg ของโคพอลิเมอร์ในพอลิเมอร์ผสมมีค่าอยู่ในช่วง 63-68°C สาหรับผลการทดสอบอุณหภูมิการสลายตัวทางความร้อนด้วยเทคนิค TGA พบว่ายาง ENR มีอุณหภูมิการสลายตัวสูงสุด และพอลิเมอร์ผสมมีอุณหภูมิการสลายตัวทางความร้อนลดลงตามสัดส่วนที่ลดลงของยาง ENR นอกจากนั้นสาหรับการวิเคราะห์ DTGA ที่อัตราส่วนของพอลิเมอร์ผสม 2:1 แสดงผลการเกิดการเชื่อมขวาง (crosslink) ของโคพอลิเมอร์กับยาง ENR ได้มากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการทดสอบการทนแรงดึง (tensile test) โดยพบว่าที่อัตราส่วน 2:1 มีค่าพลังงานในการทาให้ชิ้นงานขาด (break energy) มากที่สุดด้วยเช่นกันซึ่งสรุปได้ว่าในพอลิเมอร์ผสมนี้มีโครงสร้างของโมเลกุลที่มีการเชื่อมขวางกันมากที่สุด สาหรับผลจากภาพถ่ายด้วยกล้องจุลทรรศน์ที่ความละเอียด 10 เท่า 40 เท่า และ 100 เท่า พบว่าที่อัตราส่วน 2:1 มีการกระจายตัวของโคพอลิเมอร์ในยาง ENR ดีมากที่สุดth_TH
Appears in Collections:CheEng-Bachelor's Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Matika_L.pdf
  Restricted Access
5.82 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.