Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27791
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สินศุภา จุ้ยจุลเจิม | th_TH |
dc.contributor.author | มงคล พุทธพงษ์ | th_TH |
dc.contributor.author | หฤทัย เอกสกุลบัณฑิต | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-01-13T07:47:11Z | - |
dc.date.available | 2023-01-13T07:47:11Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27791 | - |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | th_TH |
dc.title | การศึกษาการผสมโดยใช้อากาศอัดเพื่อการสกัด | th_TH |
dc.title.alternative | A study of pluse - air mixing for liquid - liquid extraction. | th_TH |
dc.type | Working Paper | th_TH |
dc.subject.keyword | ถังอัดอากาศ | th_TH |
dc.subject.keyword | แผ่นกระจายลม | th_TH |
dc.description.abstractthai | อัตราการไหลของของไหลสามารถสังเกตและคำนวณได้จากการเคลื่อนที่ของฟองอากาศขนาดของแผ่นกระจายลมมีผลต่อความเร็วในเคลื่อนที่ของฟองอากาศ ซึ่งสามารถหาความเร็วในการเคลื่อนที่ของฟองอากาศได้โดยใช้เทคนิคการถ่ายภาพความเร็วสูง เพื่อทดสอบว่าขนาดของแผ่นกระจายลมมีผลต่อความเร็วของฟอง จึงทำการทดลองเปลี่ยนขนาดแผ่นกระจายลมจาก 3.4, 4.4 ถึง 5.4 เซนติเมตร โดยจะใช้อัตราการปล่อยอากาศที่ 4, 6 และ 12 ครั้งต่อนาที ซึ่งจะทำให้เกิดความเร็วในแนวการลอยตัวและความเร็วในแนวรัศมีที่มีค่าใกล้เคียงกันที่ 22 และ 24 เซนติเมตรต่อวินาที และทำการศึกษาประสิทธิภาพของการผสมโดยใช้อากาศอัดเปรียบเทียบกับการผสมที่ใช้ทั่วไป คือ การผสมโดยใช้ Orbital Shaker และการผสมโดยใช้ Blade Turbine จากผลการทดลองพบว่าการผสมโดยใช้อากาศอัดให้ประสิทธิภาพในการสกัดกรดอะซีดิกที่ใกล้เคียงกับการผสมอีก 2 วิธี | th_TH |
Appears in Collections: | CheEng-Bachelor's Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Eng_Mongkol_P.pdf Restricted Access | 7.97 MB | View/Open Request a copy |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.