Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27775
Title: | การสกัดแยกธาตุหายากเฉพาะตัวโดยวิธีการแลกเปลี่ยนไอออนเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม |
Other Titles: | Separation of individual rare earth by ion exchange technique for industrial applications |
Advisor : | อัญชลี สุวรรณมณี ดุษฎี รัตนพระ |
Authors: | อรพรรณ เลิศตระกูลวงศ์ เอกสิทธิ์ พฤกษะวัน |
Keywords: | ธาตุหายาก การสกัดแยก |
Issue Date: | 2555 |
Publisher: | สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
Abstract(TH): | โครงงานวิศวกรรมเคมีฉบับนี้จัดทำชื้นเพื่อศึกษาการสกัดแยกจาตุหายากเฉพาะตัวด้วยเทคนิค การแลกเปลี่ยนไอออนซึ่งมีข้อดี คือ สามารถสกัดแยกธาตุหายากได้ความบริสุทธ์สูงกว่าวิธีการสกัดของเหลวด้วยตัวทำละลายและการตกตะกอนด้วยกรดไนตริก โดยได้วัดหาค่าความบริสุทธี้และวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีของธาตุหายากด้วยเทคนิค ICP-OES และเทคนิคการเรืองรังสีเอ็กซ์ตามลำดับ นอกจากนี้ยังทำการศึกษาผลของอุณหภูมิที่ใช้ในการเผาตะกอน (300 500 600 800 และ 1,000 องศาเซลเซียส) ผลของความเร็วรอบ (200 400 600 และ 800 รอบต่อนาที) และอุณหภูมิที่ใช้ในการตกตะกอนสารละลายธาตุหายาก (28 40 60 และ 80 องศาเซลเชียส) ที่มีด่อพื้นที่ผิวจำเพาะปริมาตรรูพรุนรวม และขนาดรูพรุนเฉลี่ย จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าธาตุหายากที่สามารถสกัดแยกมาได้จากไอออนเอ็กซ์เชนจ์ คอลัมน์ที่มีความบริสุทธิ์สูงสุดคือ แลนทานัม โดยมีความบริสุทธิ์ ร้อยละ 95 ดังนั้นจึงได้เลือกแลนทานัมมาทำการศึกษาผลของอุณหภูมิที่ใช้ในการเผาตะกอน ผลของความเร็วรอบและอุณหภูมิที่ใช้ในการตกตะกอนสารละลายธาตุหายาก ที่มีต่อพื้นที่ผิวจำเพาะ ปริมาตรรูพรุนรวม และขนาดรูพรุนเฉลี่ยด้วยเทคนิค BET Surface area พบว่าที่อุณหภูมิในการเผาตะกอน 800 องศาเซลเซียส ความเร็วรอบในการตกตะกอน 400 รอบต่อนาที และอุณหภูมิที่ใช้ในการตกตะกอน 28 องศาเซลเซียส ให้ค่าพื้นที่ผิวจำเพาะ 8.982 ตารางเมตรต่อกรัม ปริมาตรรูพรุนรวม 0.0157 ลูกบาศก์เซนติเมตรต่อกรัมและขนาดรูพรุนเฉลี่ย 70.05 นาโนเมตร |
Abstract: | The aim of this engineering project is the separation of rare earths by ion exchange technique. Ion exchange technique is more efficient than solvent extraction and nitric acid precipitation technique. It generates highly pure rare earth. The purity and chemical composition of rare earths were determined by ICP-OES and X-ray fluorescence spectrometry (XRF) technique. In addition, the effect of calcination temperature (300 500 600 800 and 1,000 °C) , stirring speed (200 400 600 and 800 rpm) and precipitation temperature (28 40 60 and 80 °C) on the specific surface area, total pore volume and average pore diameter. The results show that lanthanum can be separated efficiently from other rare earths by ion exchange column. The highest purity of lanthanum was 95 %. Therefore, lanthanum was selected to study the effect of some precipitation parameters on the specific surface area, total pore volume and average pore diameter. BET Surface area technique was used to analyze the specific surface area, total pore volume and average pore diameter. It was found that at calcination temperature of 800 °C, stirring speed of 400 rpm and precipitation temperature of 28°C gave the specific surface area of 8.982 m2/g, total pore volume of 0.0157 cc/g and average pore diameter of 70.05 nanometer |
URI: | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27775 |
Appears in Collections: | CheEng-Bachelor's Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Eng_Orapan_L.pdf Restricted Access | 11.69 MB | View/Open Request a copy |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.