Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27740
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิรงรอง ดวงใจ | - |
dc.contributor.author | กันต์กนิษฐ์ ทองจีน | - |
dc.contributor.author | ฐานียา ทับทิมดี | - |
dc.contributor.author | ศรีจำปา | - |
dc.contributor.author | พิชญา ชาฎก | - |
dc.contributor.author | พิมลวรรณ พันธ์วุ้น | - |
dc.date.accessioned | 2023-01-09T07:27:29Z | - |
dc.date.available | 2023-01-09T07:27:29Z | - |
dc.date.issued | 2558 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27740 | - |
dc.description.abstract | In order to enhance capacity of mangrove resources management for providing a potential ecotourism site, mangrove conservation and ecotourism resources development should be essentially considered to find a proper guideline of ecotourism management in mangrove forest areas. Therefore, the researchers aimed to evaluate a potential of ecotourism sites which located around mangrove forest area of Khok Kham Sub-District, Muang District in Samut Sakhon Province. Data were collected by using three tools. Questionnaire was designed and used for tourist data collection. Semi-Structured interview was applied for key informant interviews. A guide form of standard potential ecotourism sites evaluation, which was created by Department of Tourism of Thailand, was used for examining ecotourism sites in and around the mangrove area of a learning and practicing center for environment and natural resource rehabilitation and conservation at Eastern Mahachai, Samut Sakhon Province. Results of this study indicate that the areas of mangrove forest of the learning and practicing center for environment and natural resource rehabilitation and conservation are potentially enough to enhance its capacity of ecotourism site development since the evaluation analysis shows a positive level of good standard. Mangrove resources were appropriately managed. Land uses and activities were properly manipulated. Natural resource interpretation for knowledge dissemination and tourist awareness was created and practiced in the area. Moreover, local community had jointly participated in conservation, and had attempted to rehabilitate mangrove resources. Besides, it was found that tourists had positively appreciated the diversity of mangrove resources at a much level (𝑥𝑥 = 3.96, S.D. = 0.71). They also had satisfied a high level of natural tourism site security (𝑥𝑥 = 3.96, S.D. = 0.88). The diversity of natural resources and its security are essentially to enhance a higher potential level of ecotourism sites. | - |
dc.language | th | - |
dc.publisher | คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | - |
dc.subject | ป่าชายเลน | - |
dc.subject | แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ | - |
dc.subject | แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ | - |
dc.subject | Natural-based Tourism Sites | - |
dc.subject | Mangrove Forest | - |
dc.subject | Ecotourism Management | - |
dc.title | การประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติในพื้นที่ป่าชายเลน | - |
dc.type | Working Paper | - |
dc.description.abstractthai | การจัดการทรัพยากรป่าชายเลนให้มีศักยภาพในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จะต้องคำนึงถึงหลักการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนไปพร้อมกับการพัฒนาเพื่อเป็นทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่ป่าชายเลนที่เหมาะสม ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงเห็นความสำคัญในการประเมินศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยเลือกพื้นที่ศึกษา ณ บริเวณพื้นที่ป่าชายเลน ตำบลโคกขาม อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ศึกษาโดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวต่อกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลนและการจัดการการท่องเที่ยว ใช้แบบสัมภาษณ์ในการเก็บข้อมูลเชิงลึกของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการการท่องเที่ยวป่าชายเลน และใช้แบบประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศของสำนักพัฒนาการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาสำหรับประเมินป่าชายเลนเพื่อเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ณ ศูนย์เรียนรู้และปฏิบัติการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาชัยตะวันออก ตำบลโคกขาม อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร ผลการวิจัยพบว่า แหล่งพื้นที่ป่าชายเลนในศูนย์เรียนรู้และปฏิบัติการอนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมหาชัยฝั่งตะวันออก มีศักยภาพเพียงพอที่จะพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศได้ เนื่องจากผลการประเมินทั้ง 4 ด้าน อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานระดับ ดี มีการบริหารจัดการพื้นที่ป่าชายเลนที่เหมาะสม การจัดกิจกรรมมีความสอดคล้องกับแหล่งพื้นที่ป่าชายเลน มีการถ่ายทอดความรู้และปลูกจิตสำนึกให้กับนักท่องเที่ยวได้เข้าใจถึงทรัพยากรธรรมชาติ อีกทั้งคนในพื้นที่ยังมีความเข้มแข็งในการร่วมกันอนุรักษ์หวงแหนทรัพยากรและมีความตั้งใจที่จะฟื้นฟูสภาพพื้นที่ป่าชายเลนให้เกิดการพัฒนาที่ดีขึ้น นอกจากนี้ยังพบว่า นักท่องเที่ยวที่มาที่ชมพื้นที่ป่าชายเลนบริเวณนี้มีความพึงพอใจต่อความหลากหลายของทรัพยากรป่าชายเลนในระดับมาก (𝑥𝑥 = 3.96, S.D. = 0.71) และเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มีความปลอดภัยต่อนักท่องเที่ยว ในระดับมาก (𝑥𝑥 = 3.96, S.D. = 0.88) ซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของศักยภาพด้านการเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ | - |
Appears in Collections: | Ece - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Size | Format | |
---|---|---|---|
Ece-Kankanit-T-2558.pdf | 7.21 MB | View/Open |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.