Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27725
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคมสิทธิ์ เกียนวัฒนา-
dc.contributor.authorกชพรรณ สุขผล-
dc.contributor.authorกาญฑิตา แสงจำปา-
dc.contributor.authorกุญช์พีรญา เตชะโรจน์ตระกูล-
dc.contributor.authorชญาทิพย์ มานิกบุตร์-
dc.contributor.authorชมพูนุช ชลอทรัพย์-
dc.contributor.authorฐิติมา ยังศิริ-
dc.contributor.authorปิยธิดา สูญกลาง-
dc.contributor.authorสุนิตา ขินแก้ว-
dc.date.accessioned2023-01-09T07:27:28Z-
dc.date.available2023-01-09T07:27:28Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/27725-
dc.languageth-
dc.publisherคณะวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ-
dc.subjectการตัดสินใจ-
dc.subjectการท่องเที่ยว-
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงโศกนาฏกรรม-
dc.subjectDark Tourism-
dc.subjectTourism Motivation-
dc.subjectMarketing Mix-
dc.subjectThana Tourism-
dc.subjectBlack Tourism-
dc.subjectDecision Process-
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวเชิงโศกนาฏกรรมในประเทศไทย-
dc.title.alternativeFactors Influencing Travel Decision-Making on Dark Tourism in Thailand-
dc.typeWorking Paper-
dc.description.abstractthaiการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวเชิงโศกนาฏกรรมในประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) คือ การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เคยมีประสบการณ์ท่องเที่ยวเชิงโศกนาฏกรรมในประเทศไทย จำนวน 385 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้รูปแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi Structured Interview) ซึ่งทำการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน โดยมีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การแจกแจงความถี่ (Frequency) การหาค่าร้อยละ (Percentage) การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (x) การหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยค่าที (t-test) และการใช้ค่าวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Analysis of Variance : ANOVA) ในกรณีพบค่าความแตกต่างเป็นรายกลุ่ม คณะผู้วิจัยจะวิเคราะห์ความแตกต่างนั้นเป็นรายคู่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ด้วยวิธี Fisher’s Least Significant Difference (LSD) การวิเคราะห์การถดถอยพหุ (Multiple Regression Analysis) แบบ Enter และการวิเคราะห์ข้อมูลแบบการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยปรากฏ ดังนี้ 1. นักท่องเที่ยวที่มีลักษณะประชากรศาสตร์ด้าน อายุ ระดับการศึกษา และอาชีพ ที่แตกต่างกันมีการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวเชิงโศกนาฏกรรมในประเทศไทยที่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. ปัจจัยแรงจูงใจทางกายภาพ แรงจูงใจทางวัฒนธรรม และแรงจูงใจทางสถานภาพและชื่อเสียง มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวเชิงโศกนาฏกรรมในประเทศไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดด้านการสร้างประสบการณ์ ด้านความคุ้มค่า ด้านการเข้าถึงผู้บริโภค และด้านการสร้างความสัมพันธ์ มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวเชิงโศกนาฏกรรมในประเทศไทยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05-
Appears in Collections:Ece - Senior Projects

Files in This Item:
File SizeFormat 
Ece-Kochapan-S-2564.pdf2.81 MBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.