Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25167
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เพ็ญพิชญ์ ธิชากรณ์ | th_TH |
dc.contributor.author | พชรภรณ์ เผื่อนพินิจ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-20T03:20:52Z | - |
dc.date.available | 2022-10-20T03:20:52Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25167 | - |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | สาขาเภสัชกรรมคลินิก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | th_TH |
dc.title | Dimeticone: ประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการรักษาโรคเหา | th_TH |
dc.title.alternative | Dimeticone: Efficacy and Safety in the Treatment of Head Louse Infestation | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |
dc.subject.keyword | Dimeticone | th_TH |
dc.subject.keyword | Malathion | th_TH |
dc.subject.keyword | Phenothrin | th_TH |
dc.subject.keyword | Permethrin | th_TH |
dc.subject.keyword | โรคเหา | th_TH |
dc.description.abstractthai | ยากำจัดเหาที่ใช้โดยทั่วไปมักเป็นสารออกฤทธิ์ในกลุ่มยาฆ่าแมลง จึงมีข้อจำกัดในเรื่องการเกิดพิษจากยาได้ง่ายและการดื้อยา ของเหาที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น Dimeticone เป็นสารจำพวกซิลิโคลและมีกลไกกำจัดเหาโดยอุดกั้นทางเดินหายใจและรูเปิดต่างๆ รวมทั้งส่งผลยับยั้งการกำจัดน้ำของเหาในประเทศไทยมีผลิตภัณฑ์ dimeticone ความแรง 4% รูปแบบแชมพูและสารสะลายวาง จำหน่าย งานวิจัยในต่างประเทศพบว่า 4% dimeticone lotion มีประสิทธิภาพการกำจัดเหาใกล้เคียงกับการใช้ 0.5% phenothrin liquid (อัตราการหายในวันที่ 14 ของ dimeticone Vs phenothrin, 69% Vs 78%, ความแตกต่าง 8%) และมีประสิทธิภาพที่ เหนือกว่า 0.5% malathion liquid อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (อัตราการหายในวันที่ 14 ของ dimeticone Vs malathion, 77% Vs 35%, p<0.001) ตลอดจนยังพบว่า dimeticone มีประสิทธิภาพในการกำจัดและควบคุมการกลับมาเป็นซ้ำของโรคเหนือกว่า permethrin และการหมักน้ำส้มสายชูมากถึง 4.3 เท่า (p=0.002) โดยอัตราการหายในวันที่ 7 หลังจากใช้ยาเท่ากับ 86%, 64% และ 61% ตามลำดับ (p<0.008) และในวันที่ 30 เท่ากับ 74%, 45% และ 45% (p<0.014) นอกจากนี้ dimeticone ยังให้การตอบสนองได้ เป็นอย่างดีในกลุ่มผู้ป่วยที่มีความรุนแรงของโรคเหาระดับปานกลาง-มาก มีลักษณะเส้นผมที่หนา ผมตรง ผมหยักศกและผู้ที่มีผมยาว ในขณะที่มียามีแนวโน้มก่อการระคายเคืองที่บริเวณหนังศีรษะและคอได้ แต่ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ | th_TH |
Appears in Collections: | Phar-Journal Articles |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Phar-Article-Pacharaporn_P.pdf | 909.35 kB | View/Open |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.