Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25159
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฑีฆพันธุ์ เจริญพงษ์th_TH
dc.contributor.advisorกิตติ สถาพรประสาธน์th_TH
dc.contributor.authorกุญช์ญาดา กองธานีth_TH
dc.date.accessioned2022-10-17T06:21:25Z-
dc.date.available2022-10-17T06:21:25Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25159-
dc.description.abstractCurrently, the road bike used popular. The design, coupled with low or dropped handlebars, requires the rider to bend forward more that will have diaseas, such as back pain. The important thing other than position while riding is Road bike frame. This paper proposed a method of bicycle size computation frome rider image. This method consist of 7 steps: Prepare subject, Image acquisition, Body segmentation, Body part detection, bike geometry computation, bike geometry computation with condition and fitting bike for sized between rider and bicycle. Proformance test have 5 step. The experimental result, the result will be compared with result by bicycle expert selection. The precision of human body part of propose method is 98.96%. The precision of tube length of road bike is 98.73%. The precision of bike frame selection is 51.22%. The precision of bike frame selection with smaller condition is 51.22% and The precision of equipment to fitting bicycle : stem is 97.57%, Crankarm is 98.44% and Saddle 96.92% The advantage of this method are only one image in needed to compute the proper bicycle, do not waste the time and bike fitting processing can be achieved easier.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.titleการวัดสัดส่วนร่างกายสำหรับแนวทางการเลือกขนาดจักรยานด้วยการประมวลผลภาพถ่ายth_TH
dc.title.alternativeBicycle size computation for size selection guide using image processing techniquesth_TH
dc.typeWorking Paperth_TH
dc.subject.keywordการวัดขนาดภาพถ่ายth_TH
dc.subject.keywordฮิตโตแกรมth_TH
dc.subject.keywordจักรยานเสือหมอบth_TH
dc.subject.keywordการฟิตติ้งth_TH
dc.description.abstractthaiในปัจจุบัน จักรยานเสือหมอบถือว่าใช้กันอย่างแพร่หลายและเป็นที่นิยม ซึ่งจักรยานเสือหมอบเป็นจักรยานที่มีลักษณะพิเศษในการขับขี่คือต้องก้มตัวลงเพื่อให้ตัวลู่ลม และในลักษณะท่าทางแบบนั้นทำให้ผู้ขับขี่จำนวนมากประสบปัญหาอาการบาดเจ็บบริเวณหลัง เข่า เป็นต้น ซึ่งสิ่งที่ทำให้เกิดอาการบาดเจ็บนอกจากระยะเวลาในการขับขี่ ก็ยังมีขนาดของจักรยานเสือหมอบที่ไม่พอดีกับร่างกายผู้ขับขี่เป็นอีกปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บ โดยงานวิจัยนี้ได้นำเสนอการเลือกขนาดของจักรยานเสือหมอบจากความยาวของร่างกายผู้ขับขี่และการปรับขนาดจักรยานให้เหมาะสมกับร่างกายผู้ขับขี่ ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน 1.การเตรียมวัตถุอ้างอิง 2.กระบวนการรับภาพ 3.กระบวนการการจำแนกอวัยวะของร่างกายและวัตถุอ้างอิง เพื่อจำแนกภาพบุคคลและวัตถุอ้างอิงจากพื้นหลัง 4.กระบวนการหาขนาดวัตถุอ้างอิงและขนาดร่างกาย เพื่อเก็บค่าพิกเซลและพิกัดตำแหน่งบนรูปภาพ 5.กระบวนการหาขนาดเฟรมจักรยาน เพื่อคำนวณหาขนาดจักรยานตามแบรนด์ที่ใช้อ้างอิง 6.กระบวนการหาขนาดเฟรมจักรยานโดยใช้เงื่อนไขเลือกขนาดไซส์จักรยานเล็กกว่าที่โปรแกรมคำนวณ เป็นการปรับวิธีการเลือกจักรยานเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น และ 7.กระบวนการหาขนาดอุปกรณ์สำหรับฟิตติ้ง เพื่อปรับขนาดของจักรยานให้เหมาะสมกับความยาวร่างกายผู้ขับขี่ โดยการทดสอบประสิทธิภาพของระบบด้วยการทดลอง 5 การ ทดลอง ผลการทดลอง โดยในการทดลองทั้งหมดจะคำนวณความถูกต้องจากการเปรียบเทียบระหว่างค่าความยาวร่างกายแต่ละส่วนจากผลลัพธ์โปรแกรมและผลลัพธ์จากการวัดจริง ในการทดลองที่ 1 ขั้นตอนการหาขนาดส่วนต่าง ๆ ของร่างกายจากภาพถ่ายทั้งหมด 10 ตำแหน่ง ได้เฉลี่ยความถูกต้องร้อยละ 98.96 ในการทดลองที่ 2 ขั้นตอนหาขนาดท่อส่วนต่าง ๆ ของเฟรมจักรยาน ทั้งหมด 9 จุด ได้ค่าเฉลี่ยความถูกต้องร้อยละ 98.73 การทดลองที่ 3 การหาขนาดเฟรมจักรยานที่เหมาะสม โดยอ้างอิงจากแบรนด์ 7 แบรนด์ของจักรยานเสือหมอบ ได้ค่าเฉลี่ยความถูกต้องร้อยละ 51.22 การทดลองที่ 4 การทดลองที่ 5 การฟิตติ้งจักรยาน ได้ค่าเฉลี่ยความถูกต้องในส่วนของ Stem ร้อยละ 97.57 ส่วนของ Crankarm ร้อยละ 98.44 และ Saddle ร้อยละ 96.92 งานวิจัยนี้เป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับบุคคลที่ต้องการเลือกซื้อและขับขี่จักรยานเสือหมอบ อีกทั้งยัง ช่วยลดเวลาและง่ายในการเลือกขนาดของจักรยานเสือหมอบ ไม่จำเป็นต้องเสียค่าการฟิตติ้งจักรยาน อีกทั้งยังช่วยในเรื่องการบริหารเงินที่จะเลือกซื้อขนาดและอุปกรณ์สำหรับฟิตติ้ง สำหรับงานวิจัยนี้ได้ทำการทดลองการเลือกจักรยานเสือหมอบและการฟิตติ้งได้ค่อนข้างมีประสิทธิภาพth_TH
Appears in Collections:BioEng-Journal Articles

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Kunyada_K.pdf
  Restricted Access
88.27 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.