Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25106
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวงศ์วิทย์ เสนะวงศ์th_TH
dc.contributor.authorกชรัตน์ อาศิรวาทth_TH
dc.contributor.authorวิลาวัณย์ จันทร์กลั่นth_TH
dc.date.accessioned2022-09-27T08:36:32Z-
dc.date.available2022-09-27T08:36:32Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25106-
dc.description.abstractThis engineering project is a study and comparative analysis of brain signals between students with depression and students without depression in resting state. The projected signal differentiation analysis was initiated by measuring the participants' brain signals and analyzing the differences by modeling through a deep learning program. The statistical difference of brain signals of the students with depression and the normal students. It was determined compare with the PHQ-9 Depression Test for the trends in brainwave signal analysis and test scores. From the experiment, the results were summarized which can be divided into 2 parts as follows Part 1: The test's results Level 1 had no participants with a predisposition to depression; Level 2 had 5 participants with mild depression; Level 3 had 4 participants with moderate depression, Level 4 had 2 participants with moderately severe depression, and Level 5 had 1 participant with severe depression. Part 2: The results were analyzed by a deep learning program, which trained through datasets from measuring brain signals. Following that, efficacy was assessed and compared. It was found that when the condition was opened and closed eyes for 1 minute each (easel 1), the accuracy of signal classification was between 60% and 100%. It was used to measure brainwaves that are more accurate than other conditions. However, the accuracy of results may decrease as the number of data sets used for training were too small. In addition, the research results may change according to the information used in the training program.0yfskth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบคลื่นไฟฟ้าสมองของกลุ่มนิสิตที่มีภาวะโรคซึมเศร้าและนิสิตทั่วไปในขณะพักth_TH
dc.title.alternativeElectroencephalography study in students with depression in resting stateth_TH
dc.typeWorking Paperth_TH
dc.subject.keywordภาวะซึมเศร้าth_TH
dc.subject.keywordการวัดคลื่นไฟฟ้าสมองth_TH
dc.subject.keywordทฤษฎีการเรียนรู้เชิงลึกth_TH
dc.description.abstractthaiโครงงานวิศวกรรมนี้เป็นการศึกษาและวิเคราะห์เปรียบเทียบสัญญาณสมองของกลุ่มนิสิตที่มีภาวะโรคซึมเศร้าและนิสิตทั่วไปในขณะพัก (Resting state) โดยการวิเคราะห์หาค่าความแตกต่างกันของสัญญาณ โครงงานเล่มนี้ได้เริ่มต้นจากการวัดสัญญาณสมองของผู้เข้าร่วมวิจัยและวิเคราะห์หาความแตกต่างโดยสร้างโมเดลผ่านโปรแกรมการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ในการช่วยหาค่าความแตกต่างทางสถิติของสัญญาณสมองนิสิตที่มีภาวะซึมเศร้าและนิสิตทั่วไป เพื่อเปรียบเทียบกับการทำแบบทดสอบภาวะซึมเศร้า PHQ-9 สำหรับใช้ในการดูแนวโน้มของผลการวิเคราะห์สัญญาณคลื่นสมองและคะแนนที่ได้จากแบบทดสอบ จากการทดลองได้ผลสรุปซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ผลจากการทำแบบทดสอบ จะแสดงระดับความรุนแรงของภาวะซึมเศร้าโดยแบ่งออกเป็น ระดับที่ 1 ไม่พบผู้เข้าร่วมวิจัยที่ไม่มีแนวโน้มภาวะซึมเศร้า ระดับที่ 2 พบว่าผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีภาวะซึมเศร้าระดับอ่อนจำนวน 5 คน ระดับที่ 3 พบว่ามีผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีภาวะซึมเศร้าระดับปานกลางจำนวน 4 คน ระดับที่ 4 พบว่ามีผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรงปานกลาง จำนวน 2 คน และระดับที่ 5 พบว่ามีผู้เข้าร่วมวิจัยที่มีภาวะซึมเศร้าระดับรุนแรงจำนวน 1 คน ส่วนที่ 2 ผลจากการวิเคราะห์โดยโปรแกรมการเรียนรู้เชิงลึก (Deep Learning) ซึ่งทำการฝึกฝนผ่านชุดข้อมูลที่ได้จากการวัดสัญญาณสมอง แล้วทำการวัดและเปรียบเทียบประสิทธิภาพ พบว่า เมื่อนำเงื่อนไขลืมตาและหลับตาอย่างละ 1 นาที (case 11) จะมีความแม่นยำในการจำแนกสัญญาณระหว่าง 60% ถึง 100% ผลการวิจัยนี้ยังแสดงให้เห็นว่าเงื่อนไขนี้เป็นเงื่อนไขที่ใช้ในการวัดคลื่นสมองที่มีความแม่นยำมากกว่าเงื่อนไขอื่น ทั้งนี้ผลความแม่นยำอาจมีค่าที่ลดลงตามจำนวนชุดข้อมูลที่นำมาใช้ฝึกฝนน้อยเกินไป อีกทั้งผลการวิจัยอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามข้อมูลที่ใช้ในการฝึกโปรแกรมth_TH
Appears in Collections:BioEng-Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Kotcharat_A.pdf
  Restricted Access
34.74 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.