Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25103
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชไมพร สุขแจ่มศรีth_TH
dc.contributor.authorพัชรี สารีเครือth_TH
dc.contributor.authorภาณุพงศ์ เอียดหนักขันth_TH
dc.date.accessioned2022-09-27T08:02:48Z-
dc.date.available2022-09-27T08:02:48Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25103-
dc.description.abstractThe alternative treatment option for a permanent tooth loss is to install dental implants. When a damaged tooth is a front tooth which affects beauty, dental implants are essential for treatment. A dental implant consists of abutment, screw and fixture. The front teeth are used to exert force when biting food causing long-term damage such as screw loosening and material or bone fracture. Therefore, this research designed the shape of the root connection with 3 types of abutment, namely Non-internal hex, Three spline and Penta spline, and campared them with the current popular model called Internal hex model. By simulating finite elements by applying the bite force of 120 N to front teeth. The result showed that Three spline model gave the best result in both the lower stress in material, and lower probability for screw loosening than other models. Those interested in the results of this research can use this knowledge for choosing dental implants in the future, including additional analysis of finite elements and laboratorial experiments for clinical results.th_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒth_TH
dc.titleการออกแบบส่วนเชื่อมต่อรากฟันกับเดือยรองรับครอบฟันที่แตกต่างกันต่อการกระจายความเค้นของฟันตัดซี่กลางที่ขากรรไกรบน: การวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์th_TH
dc.title.alternativeImplant abutment connection designs in anterior single tooth replacement: a finite element analysisth_TH
dc.typeWorking Paperth_TH
dc.subject.keywordรากฟันเทียมth_TH
dc.subject.keywordการวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์th_TH
dc.description.abstractthaiเมื่อเกิดการสูญเสียฟันถาวรไป ทางเลือกหนึ่งของการรักษาคือการใส่ฟันเทียม เมื่อฟันที่เสียหายไปเป็นฟันหน้าซึ่งส่งผลต่อความสวยงาม รากฟันเทียมจึงจำเป็นอย่างยิ่งในการรักษา รากฟันเทียมประกอบด้วยเดือยรองรับฟัน สกรู และรากเทียม โดยฟันหน้าจะใช้ออกแรงเมื่อกัดอาหาร ทำให้ในระยะยาวเกิดความเสียหาย เช่น สกรูหลวม และวัสดุหรือกระดูกแตกหักเสียหาย งานวิจัยนี้จึงออกแบบรูปร่างของส่วนเชื่อมต่อรากฟันกับเดือยรองรับฟัน 3 ชนิด คือ Non-lnternal hex, Three spline และ Penta spline และเปรียบเทียบกับรูปแบบที่นิยมใช้ในปัจจุบันคือรูปแบบ Internal hex โดยการจำลองไฟไนท์เอลิเมนต์ด้วยการออกแรงกัด 120 นิวตันแก่ฟันหน้า ผลพบรูปแบบ Three spline ให้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดทั้งผลของความเค้นในวัสดุที่ตํ่ากว่า และประเมินโอกาสในการเกิดสกรูหลวม พบว่ามีโอกาสน้อยกว่ารูปแบบอื่นอีกด้วย ผู้ที่สนใจในผลการศึกษาของการทดลองนี้จะสามารถใช้ประโยชน์ในการเลือกใช้รากฟันเทียมในอนาคต รวมไปถึงการวิเคราะห์ไฟไนท์เอลิเมนต์เพิ่มเติม และทดลองจริงในห้องปฏิบัติการเพื่อให้ได้ผลทางคลีนิคth_TH
Appears in Collections:BioEng-Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Patcharee_S.pdf
  Restricted Access
19.77 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.