Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25000
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภัทธกร บุบผัน
dc.contributor.authorรัตน์ติพร โกสุวินท
dc.contributor.authorปะการัง ศรีมี
dc.date.accessioned2022-09-07T08:17:45Z-
dc.date.available2022-09-07T08:17:45Z-
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/tmj/article/view/149633
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/25000-
dc.description.abstractIntroduction: Enterobius vermicularis, Pinworn is widespread worldwide especially in tropical and equator zone and common found in school children. Almost cases are asymptomatic, thought, anal or vaginal pruritus, abdominal pain, constipation or diarrhea can still occur. Method: This study aimed to determine the infections rate of Enterobius vermicularis in Primary chool Students 1-3, Ongkharak District, Nakhonnayok Province during March, 2016 to February 2017 by using the Scotch tape technique for investigation. Result: In total, 1249 students were examined, of which 53.41% male and 46.59% female students were enrolled in this study. The most of subjects were the age group average 7.93 year olds. 197 cases were infected with E. vermicularis and the infection rate was 15.77%. In male (16.40%) were highly infection more than female (14.78). Most of pinworm infection was found in subject age group 8 year old (24.39%). Wat Phothaen School showed the highest prevalence (41.77%) and Anuban Ongkharak School with the lowest rate of 8.41%. Discussion and Conclusion: This study shown that elementary pupil of Ongkharak District, Nakhonnayok province should be screening their health 1 - 2 times per year to reduce helminthic infection and following health education are required to emphasized implement for reduce the risk of pinworm infection in this population.
dc.language.isoth
dc.subjectพยาธิเข็มหมุด
dc.subjectโรคพยาธิเข็มหมุด
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา
dc.subjectจังหวัดนครนายก
dc.subjectEnterobius vermicularis
dc.subjectEnterobiasis
dc.subjectElementary pupil
dc.subjectNakhonnayok Province
dc.titleอัตราการติดเชื้อของพยาธิเข็มหมุดในนักเรียนระดับประถมศึกษา ๑ - ๓ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
dc.title.alternativeInfection rate of Enterobius vermicularis in Elementary school Students 1 - 3, Ongkharak District, Nakhonnayok Province
dc.typeArticle
dc.identifier.bibliograpycitationธรรมศาสตร์เวชสาร, ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 เมษายน - มิถุนายน 2561
dc.description.abstractthaiบทนํา:พยาธิเข็มหมุด เป็นหนอนพยาธิที่พบได้ทั่วไปในเขตร้อนและมักพบในเด็กนักเรียน การติดเชื้อส่วนใหญ่จะไม่แสดงอาการ อย่างไรก็ตามก็อาจจะพบการอักเสบตามทวาร ช่องคลอดทําาให้เกิดอาการปวดท้อง ท้องผูก และท้องร่วง วิธีการศึกษา:การศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอัตราการติดเชื้อของพยาธิเข็มหมุดในนักเรียนระดับประถมศึกษา ๑ - ๓ อําาเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก ระหว่างเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ จําานวน ๑,๒๔๙ ราย ตรวจพยาธิเข็มหมุดโดยวิธี Scotch tape technique ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นเพศชายและเพศหญิง คิดเป็น ๕๓.๔๑% และ ๔๖.๕๙% ตามลําาดับอายุเฉลี่ย ๗.๙๓ ปี พบผู้ติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดจําานวน ๑๙๗ ราย อัตราการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุด เท่ากับ ๑๕.๗๗% พบการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดใน เพศชาย (๑๖.๔๐%) มากกว่าเพศหญิง (๑๔.๗๘%) ตามลําาดับ พบมากที่สุดในกลุ่มอายุเฉลี่ย ๘ ปี คิดเป็น ๒๔.๓๙% เมื่อจําาแนกตามสถานที่ พบอัตราการติดเชื้อสูงที่สุด คือ โรงเรียนวัดโพธิ์แทน (๔๑.๗๗%) และพบการติดพยาธิเข็มหมุดในเด็กนักเรียนโรงเรียนอนุบาลองครักษ์ (ผดุงองครักษ์ประชา) น้อยที่สุด คิดเป็น ๘.๔๑% วิจารณ์ และ จากการศึกษาครั้งนี้ควรจะได้รับการตรวจหนอนพยาธิเข็มหมุด อย่างน้อย ปีละ ๑ - ๒ ครั้ง ควบคู่ไปกับการให้สรุปผลการศึกษา: สุขศึกษา เพื่อลดอัตราการติดเชื้อ
Appears in Collections:Pt-Journal Articles

Files in This Item:
There are no files associated with this item.


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.