Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24999
Title: | การสำรวจอะแคนทามีบาในตัวอย่างน้ำสวนสาธารณะในประเทศไทย |
Other Titles: | Survey of Acanthamoebaspp. in Water Samplesfrom the Public Park of Thailand |
Authors: | ภัทธกร บุบผัน ชลาลัย มีบุญ ฐิตินันท์ กล่ำศิริ วรากร พรหมยุทธนา วสุมดี ก่ออมรทรัพย์ รัตน์ติพร โกสุวินทร์ ปะการัง ศรีมี |
Keywords: | แคนทามีบา สวนสาธารณะ อะมีบาดํารงชีพอิสระ Acanthamoeba spp. Public park Free-living amoebae (FLA) |
Issue Date: | 2561 |
Abstract(TH): | อะแคนทามีบาเป็นอะมีบาที่ดํารงชีวิตเป็นอิสระในสิ่งแวดล้อมและเป็นเชื้อฉวยโอกาสที่ ทําให้เกิดโรคสมองอักเสบชนิดเรื้อรัง โรคผิวหนังชนิดเฉียบพลัน และโรคกระจกตาอักเสบ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสํารวจ ความชุกของอะแคนทามีบาจากตัวอย่างนํ้าที่เก็บสวนสาธารณะและจัดกลุ่มอะแคนทามีบาโดยใช้ รูปร่างลักษณะของซีสต์จาก ตัวอย่างนํ้าทั้งหมด 300ตัวอย่าง ที่อุณหภูมิเฉลี่ย 24. 53 องศาเซสเซียส ค่า pH ประมาณ 5.3 โดยเพาะเลี้ยงอะแคนทามีบาบนอาหารเลี้ยงเชื้อที่ฉาบด้วยEscherichia coliผลการวิจัย พบAcanthamoeba spp. ร้อยละ 35 ของจํานวนตัวอย่างทั้งหมด จังหวัดสระบุรีและสงขลาพบความชุก Acanthamoeba spp. มากที่สุด และจังหวัดนครราชสีมาและราชบุรีพบความชุกของAcanthamoeba spp. น้อยที่สุด โดยสามารถแบ่งเป็นลักษณะซีสต์ที่พบได้ 3 กลุ่ม และลักษณะซีสต์กลุ่มที่ 2 พบจํานวน มากที่สุดจากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าอะแคนทามีบาสามารถพบได้ตามแหล่งนํ้าสวนสาธารณะซึ่งเป็นข้อมูลที่จําเป็นเพื่อเฝ้าระวังการติดเชื้ออะแคนทามีบา |
Abstract: | Acanthamoebaare free-living amoebae found in the environment and are oppor-tunistic pathogens causing infections of the Granulomatous Amebic Encephalitis (GAE), Acan-thamoeba Keratitis (AK) and Subacute granulomatousn dermatitis. The aim of this study was to investigate the prevalence of Acanthamoeba spp. in water samples from the public park and identify Acanthamoeba spp. based on the morphology of cyst. A total of 300 water samples were recovered at average of 24.53°C, approximate pH 5.3. The Acanthamoebaspp. were cultured in non-nutrient agar coated withEscherichia coli and observed the morphology under compound light microscope. The results showed that there were 35% of Acanthamoeba spp. from total water samples. The highest prevalence of Acanthamoebaspp. was found in Saraburiand Songkhla, whereas the lowest prevalence was found in Nakhon Ratchasima and Rat-chaburi. Acanthamoebaspp. in this study were classified into 3 groups based on cyst morpho-logy, and the highest prevalence of cyst were classified in group II. This study suggested that Acanthamoeba spp. can be found the water samples collected from the public park. It is es-sential information to monitor the Acanthamoeba spp. infection. |
URI: | https://ejournals.swu.ac.th/index.php/JSTEL/article/view/10190 https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24999 |
Appears in Collections: | Pt-Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.