Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24979
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Bodin Khumnonchai | - |
dc.contributor.author | Usa Chinwaro | - |
dc.contributor.author | Rumpa Boonsinsukh | - |
dc.contributor.author | Nithinun Chaikeeree | - |
dc.date.accessioned | 2022-09-07T08:17:45Z | - |
dc.date.available | 2022-09-07T08:17:45Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://physicaltherapy.swu.ac.th/sites/default/files/2021-04/Bodin%20Khumnonchai_Time%20to%20maintain%20standing.pdf | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24979 | - |
dc.description.abstract | A common clinical tool for balance assessment in the elderly is the modified clinical test for sensory interaction and balance (mCTSIB). This test is used for assessing the ability to appropriately organize sensory information for stance control by timing the stance duration. The mCISIB composes of four conditions; stand with eyes open and eyes closed on a firm surface and foam surface. Types of foam pad used in the mCTSIB test can affect accuracy of the test results. The NeuroCom foam is the standard foam used for the mCTSIB testing but it is expensive. At present, the AIREX Balance-Pad is a cheaper foam that is widely used in both clinical and laboratory settings but there is no report on its appropriateness for the mCTSIB. Therefore, this study aimed to compare time to maintain stability between AIREX Balance-Pad foam and the NeuroCom foam whenstanding on conditions of the mCTSIB in elderly. Sixty-eight healthy elderly persons were asked to maintain stability under four conditions of mCTSIB: firm and foam surface (AIREX and NeuroCom) with eyes open and eyes closed for 120 seconds each condition. Participant’s time to maintain stability during the mCTSIB test was recorded using the stop watch. Combination of the time to maintain stability on four conditions of the mCTSIB (composite score) and standing time on each foam condition was compared between AIREX and NeuroCom foams. Paired samples t-test was conducted to compare between two types of foams at a level of p-value < 0.05. The composite score measured during the mCTSIB test was significant higher (p = 0 . 0 0 0 ) when using the AIREX foam (431.78 64.37 seconds) compared to the NeuroCom foam (424.06 67.66 seconds). Significant difference of time to maintain stability between two different types of foam pads was found for eyes closed condition (p = 0.001), but not eyes open condition (p = 0 .0 9 9 ) . A composite score for the mCTSIB on the NeuroCom foam differs from the AIREX foam, especially under eyes closed condition. Using different types of foam in balance test may lead to the wrong interpretation of balance performance of elderly persons. | - |
dc.language.iso | th | - |
dc.subject | พื้นผิวที่ไม่มั่นคง | - |
dc.subject | การทรงตัว | - |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | - |
dc.subject | compliant surface | - |
dc.subject | postural stability | - |
dc.subject | older persons | - |
dc.title | ระยะเวลาในการควบคุมการทรงตัวระหว่างโฟมนิวโรคอมและแอเร็กที่ใช้ในการทดสอบ Modified Clinical Test of Sensory Interaction and Balance (mCTSIB) ในผู้สูงอายุ | - |
dc.title.alternative | Time to maintain standing balance on NeuroCom and AIREX foams during the Modified Clinical Test of Sensory Interaction and Balance (mCTSIB) in elderly | - |
dc.type | Article | - |
dc.identifier.bibliograpycitation | การประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, 7 - 8 ธันวาคม 2560 | - |
dc.description.abstractthai | เครื่องมือทางคลินิกที่ใช้กันมากที่สุดสำหรับการประเมินการทรงตัวในผู้สูงอายุ คือ การทดสอบ modified clinical test for sensory interaction and balance (mCTSIB) ซึ่งใช้ในการประเมินความสามารถของระบบประสาทส่วนกลางในการจัดการข้อมูลจากระบบรับความรู้สึกสู่การควบคุมการ ทรงตัว mCTSIB ประกอบด้วย 4 เงื่อนไข ได้แก่ ยืนลืมตา และหลับตาบนพื้นและโฟม ชนิดของโฟมที่ใช้ในการทดสอบ mCTSIB ส่งผลต่อผลการทดสอบ การทรงตัว โฟม NeuroCom เป็นโฟมมาตรฐานที่ใช้สำหรับการทดสอบ mCTSIB แต่มีราคาแพง ปัจจุบัน โฟม AIREX เป็นโฟมที่ใช้กันอย่าง แพร่หลายทั้งในทางคลินิกและห้องปฏิบัติการ แต่ยังไม่มีรายงานถึงความเหมาะสมของการนำโฟม AIREX ไปใช้ในการทดสอบ mCTSIB ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระยะเวลาที่ผู้สูงอายุสามารถยืนทรงตัวได้ระหว่างการยืนบนโฟม AIREX และโฟม NeuroCom ภายใต้ เงื่อนไขการทดสอบ mCTSIB ผู้สูงอายุสุขภาพดีจ านวน 68 คน ถูกขอให้ยืนทรงตัวภายใต้ 4 เงื่อนไข เป็นเวลา 120 วินาทีในแต่ละเงื่อนไข ผลรวมของ เวลาที่อาสาสมัครสามารถยืนทรงตัว (composite score) และระยะเวลาของการยืนในเงื่อนไขที่ใช้โฟม ถูกนำมาใช้ในการเปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างโฟม AIREX และ NeuroCom โดยใช้สถิติ paired samples t-test ผลรวมของระยะเวลาในการยืนทรงตัวขณะทดสอบด้วย mCTSIB ใน กรณีที่ใช้ โฟม AIREX (431.78 64.37 วินาที) มีค่ามากกว่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับการใช้โฟม NeuroCom (424.06 +67.66 วินาที) (p = 0.000) และพบความแตกต่างของระยะเวลาในยืนทรงตัวบนโฟมทั้งสองชนิดนั้นพบเฉพาะในขณะที่ยืนบนโฟมร่วมกับหลับตา (p = 0.001) ผลรวมของระยะเวลาในการยืนทรงตัวในเงื่อนไขของ mCTSIB โดยใช้โฟม NeuroCom แตกต่างจากการใช้โฟม AIREX โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อยืนพร้อมกับหลับตา ดังนั้น การใช้โฟมที่แตกต่างกันในการทดสอบการทรงตัวอาจนำไปสู่การตีความที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับความสามารถในการทรงตัว ของผู้สูงอาย | - |
Appears in Collections: | Pt-Journal Articles |
Files in This Item:
There are no files associated with this item.
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.