Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24822
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภัทร์อร พิพัฒนกุล | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-05T02:38:38Z | - |
dc.date.available | 2022-09-05T02:38:38Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/24822 | - |
dc.description.abstract | Children’s Poetry was widespread throughout Japan at the time of the modern education reform. Many authors of children’s poetry and songwriters are well known up until now. Their literary works are widely read and studied. After World War II, Japan was in an era of high economic growth however during that time many problems arose concerning the environment and competition in education. Poetry was used in elementary school textbooks, to teach the children about the importance of their surroundings. Children learned to think and use their imagination. In 1990-2000, an era of information and technology, there were many problems regarding bullying and truancy in school. This period, which was called “the Lost Decade”, caused the younger generation to lose interest in their aspirations and dreams. The poetry in textbooks at the time was used for teaching grammar, reading and writing as had been done with textbooks in the past. Despite this the real emphasis was in terms of content, they represented the value of life and society. After the year 2000, the Educational regulations were revised to suit a borderless economic society. Poetry for children that appeared in textbooks at the time, reflected the people who were facing disappointment and seeking emotional support. Poetry motivates children to learn to observe and find happiness in their environment. It can be said that children’s poetry is not only the language of the culture that adults try to pass down to the next generation, but also a way in which to explore questions related to the instability in everyday life, and stimulate the readers to look for answers. | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | th_TH |
dc.title | รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ กวีนิพนธ์สำหรับเด็กในหนังสือเรียนประถมศึกษาญี่ปุ่น | th_TH |
dc.title.alternative | กวีนิพนธ์สำหรับเด็กในหนังสือเรียนประถมศึกษาญี่ปุ่น | th_TH |
dc.title.alternative | Children’s Poetry in Japanese Elementary School Textbook | - |
dc.type | Technical Report | th_TH |
dc.subject.keyword | กวีนิพนธ์สำหรับเด็ก | th_TH |
dc.subject.keyword | หนังสือเรียนระดับประถมศึกษา | th_TH |
dc.subject.keyword | Children’s Poetry | th_TH |
dc.subject.keyword | Elementary school textbooks | th_TH |
dc.description.note | งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนวิจัยจากเงินรายได้คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สัญญาเลขที่ 303/2559 ประจำปีงบประมาณ 2559 | - |
dc.description.abstractthai | กวีนิพนธ์สำหรับเด็กในญี่ปุ่นแพร่หลายมาพร้อมกับการปฏิรูประบบการศึกษาสมัยใหม่ นักเขียนและกวีที่มีชื่อเสียงจำนวนมากสร้างสรรค์ผลงานประเภทกวีนิพนธ์และบทเพลงที่ชาวญี่ปุ่นรู้จักดี ยังมีการอ่านและเรียนรู้ต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ญี่ปุ่นพัฒนาประเทศจนมีความเจริญทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและการแข่งขันทางการศึกษาตามมา กวีนิพนธ์ถูกนำมาใช้ในหนังสือเรียนระดับประถมศึกษาของญี่ปุ่น เพื่อเน้นให้เด็กๆ ตระหนักถึงความสำคัญของธรรมชาติรอบตัว เกิดความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ ในทศวรรษ 1990-2000 เป็นสังคมแห่งข้อมูลข่าวสาร เกิดปัญหาการกลั่นแกล้งในโรงเรียนและการไม่เข้าเรียน สมัยที่เรียกกันว่า “ทศวรรษที่หายไป” (The Lost Decade) นี้เป็นแรงกดดันหนึ่งที่ทำให้เด็กๆ ขาดความฝัน กวีนิพนธ์ที่ปรากฏในหนังสือเรียนยุคนี้ นอกจากมีเนื้อหาสอนภาษาและทักษะในการอ่านและเขียนเหมือนกับที่เคยมีมาแล้ว ยังแฝงความหมายที่ลึกซึ้งของการให้กำลังใจ มีเนื้อหาที่เกี่ยวกับการตระหนักรู้คุณค่าของชีวิตและสังคม หลังปีค.ศ.2000 มีการปรับปรุงการศึกษาให้เหมาะสมกับสังคมเศรษฐกิจที่มีรูปแบบไร้พรมแดน กวีนิพนธ์ที่พบในหนังสือเรียนยุคปัจจุบัน ส่วนใหญ่สะท้อนแง่คิดเกี่ยวกับชีวิตและความมีน้ำใจยอมรับความแตกต่างของมนุษย์ร่วมโลก กวีนิพนธ์เหล่านี้เป็นการสะท้อนภาพสังคมที่ผู้คนสิ้นหวังหรือต้องการสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ สร้างแรงบันดาลใจให้สังเกตและหาความสุขและความดีงามจากสิ่งรอบตัว นับว่ากวีนิพนธ์สำหรับเด็กในหนังสือเรียนนั้น นอกจากเป็นวัฒนธรรมทางภาษาที่ผู้ใหญ่ต้องการปลูกฝังสู่เด็กแล้ว ยังแฝงคำถามที่สะท้อนให้เห็นความไม่มั่นคงของวิถีชีวิตชาวญี่ปุ่น และกระตุ้นให้ผู้อ่านได้พยายามหาคำตอบด้วย | th_TH |
Appears in Collections: | Ori-Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Ori-Pat-on-P-2560.pdf | 4.59 MB | View/Open |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.