Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22469
Title: การกำจัดไอออนโลหะแบบแข่งขันในคอลัมน์แพคเบดโดยใช้เปลือกเมล็ดทานตะวันปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์
Other Titles: Competitive removal of mixed metal ions in packed bed column by NaOH-modified sunflower seed husk
Advisor : ศิริวรรณ ศรีสรฉัตร์
Authors: กนกอร พงษ์พิทักษ์
จักรกฤช จันทรมหา
Keywords: เมล็ดทานตะวัน
ไอออนโลหะ -- การกำจัด
Issue Date: 2555
Publisher: ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Abstract(TH): โครงงานวิศวกรรมเคมีนี้ศึกษาการกำจัดไอออนโลหะแบบแข่งขันในคอลัมน์แพคเบดโดยใช้เปลือกเมล็ดทานตะวันปรับสภาพด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ เริ่มจากนำเปลือกเมล็ดทานตะวันมาปรับสภาพด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 10 เปอร์เซ็นต์โดยนำหนัก ขนาด 500 ถึง 710 ไมโครเมตร จากการศึกษาพีเอชที่เหมาะสมของสารละลายไอออนโลหะหนักแบบแยกเดี่ยวในชุดทดลองแบบกะ พบว่า นิกเกิล(II) ตะกั่ว(II) และแคดเมียม(II) ที่พีเอช 5 ถูกกำจัดออกจากสารละลายมากที่สุดร้อยละ 65.43 98.93 และ 96.85 ตามลำดับและที่พีเอช 4 สังกะสี(II) ถูกกำจัดมากที่สุดร้อยละ 81.72 จากผลการทดลองกำจัดไอออนโลหะแบบแข่งขันในคอลัมน์แพคเบดแสดงให้เห็นว่าเปลือกเมล็ดทานตะวันปรับสภาพด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ มีประสิทธิภาพในการกำจัดไอออนโลหะหนักสูงกว่าการเผาปรับสภาพ อีกทั้งผลการทดลองยังสอดคล้องกับแบบจำลองการดูดซับ Bed Depth Service Time (BDST) จากผลการทดลองพบว่า ตะกั่ว(II) ให้ค่าความสามารถในการดูดซับสูงสุด (Na) เท่ากับ 2,785.62 มิลลิกรัมต่อลิตร รองลงมาคือ นิกเกิล(II) และแคดเมียม (II) มีค่าเท่ากับ 2,271.00 และ 2,009.01 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ สุดท้ายคือสังกะสี(II) มีค่าเท่ากับ 1,598.54 มิลลิกรัมต่อลิตร เมื่อพิจารณาค่าคงที่อัตราการดูดซับ (Ka) พบว่าสังกะสี(II) มีค่าสูงกว่าตะกั่ว(II) แคดเมียม(II) และนิกเกิล(II) โดยมีค่าเท่ากับ 1.47X10-4 1.34X10-4 6.83x105 และ 4.12x105 ลิตรต่อมิลลิกรัม•นาที ตามลำดับ
Abstract: This chemical engineering project entitled “Competitive Removal of Mixed Metal Ions in Packed Bed Column by NaOH-Modified Sunflower Seed Husk” was studied. Firstly, sunflower husk was treated by 10%wt NaOH and sieved to a certain size of 500 to 710 micrometers. Secondly, optimum pH for metal ion removal was investigated in the range of 2 to 5 in batch mode and the results showed that the optimum pH is 5 for Ni(II) Pb(II) and Cd(II) removal by the husk with 65.43%, 98.93% and 96.85% removal respectively. Whereas the optimum pH for Zn(II) removal was 4 with the percentage of 81.72. Finally, the experiment was carried out for competitive removal with 10 centimeters height bed, flow rate of 5 milliliters per minute and solution pH 5 in packed column. From our experimental result, it was found that the potential of removal capacity of metal ions were Pb(lI) > Ni(Il) > Cd(II) > Zn(n) respectively. Moreover, the removal metal ions were fitted to Bed Depth Service Time (BDST) model. The maximum adsorption capacity (Na) and adsorption rate coefficient (KJ for Pb(II) were 2,785.62 milligrams per liter and 1.34x104 liter per milligrams-minute; 2,271.00 milligrams per liter and 4.12x105 liter per milligrams-minute for Ni(II); 2,009.01 milligrams per liter and 6.83x105 liter per milligrams-minute for Cd(II) and the last for Zn(II) were 1,597.54 milligrams per liter 1.47x1 o'4 liter per milligrams-minute respectively.
URI: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22469
Appears in Collections:CheEng-Bachelor's Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Eng_Kanokorn_P.pdf
  Restricted Access
12.73 MBPDFView/Open Request a copy


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.