Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22468
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สิทธินันท์ ท่อแก้ว | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฐวุฒิ วิสิษฐดำรงค์กุล | th_TH |
dc.contributor.author | ภูมิชาย ทัฬหชัยกุล | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-07-04T07:34:41Z | - |
dc.date.available | 2022-07-04T07:34:41Z | - |
dc.date.issued | 2555 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22468 | - |
dc.description.abstract | The aims of this engineering project were studied the effect of pH, concentration of sodium chloride, initial concentration of dye, surface area of electrode and electrical voltage on the removal of reactive red dye 3 when the graphite was used as electrode. The experiment results shown that the decrease of pH and initial dye concentration will increase pseudo first order reaction rate constant and removal efficiency of dye whereas the increase of the concentration of sodium chloride, surface area of electrode and electrical voltage will increase the pseudo first order reaction rate constant and removal efficiency of dye. | th_TH |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | th_TH |
dc.title | การกำจัดสีย้อมรีแอคทีฟเรด 3 โดยการใช้กระแสไฟฟ้า | th_TH |
dc.title.alternative | Removal of reactive red dye 3 using electric current | th_TH |
dc.type | Working Paper | th_TH |
dc.subject.keyword | สีย้อม | th_TH |
dc.subject.keyword | การกำจัดสีย้อม | th_TH |
dc.description.abstractthai | โครงงานวิศวกรรมนี้เป็นการศึกษาผลของค่าพีเอช ความเข้มข้นของโซเดียมคลอไรค์ ความเข้มข้นเริ่มต้นของสีย้อม พื้นที่ผิวอิเล็กโทรด และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าต่อการกำจัดสีรีแอคทีฟเรด 3 โดยการใช้กระแสไฟฟ้า เมื่อใช้แกรไฟต์เป็นขั้วอิเล็กโทรด จากการทดลองพบว่า ค่าพีเอชของสารละลายและความเข้มข้นเริ่มต้นของสีมีค่าลดลง ทำให้ค่าคงที่ปฏิกิริยาอันดับหนึ่งเทียมมีค่าเพิ่มขึ้นและประสิทธิภาพในการกำจัดสีดีขึ้น ขณะที่ความเข้มข้นของโซเดียมคลอไรด์ พื้นที่ผิวของอิเล็กโทรด และค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ามีค่าเพิ่มขึ้น ทำให้ค่าคงที่ปฏิกิริยาอันดับหนึ่งเทียมมีค่าเพิ่มขึ้นและประสิทธิภาพในการกำจัดสีดีขึ้น | th_TH |
Appears in Collections: | CheEng-Bachelor's Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Eng_Nuttawut_V.pdf Restricted Access | 12.96 MB | View/Open Request a copy |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.