Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22213
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.date.accessioned | 2022-06-22T15:02:39Z | - |
dc.date.available | 2022-06-22T15:02:39Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22213 | - |
dc.language | th | - |
dc.publisher | กรมทรัพย์สินทางปัญญา | - |
dc.subject | สิทธิบัตร | - |
dc.title | ชุดของไพรเมอร์ (primer) และตัวตรวจจับสำเร็จรูป หรือ โพรบ (probe) สังเคราะห์ ที่อยู่บนอนุภาคนาโนของโลหะทองคำ (Gold nanoparticles DNA probe) โดยใช้ยีนฟอสโฟไลเพส ซี (Phospholipase C), วิธีการตรวจสารพันธุกรรม และชุดตรวจสารพันธุกรรมสำหรับการตรวจหาเชื้อแบคทีเรียลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนสในอาหาร | - |
dc.type | Patent | - |
dc.contributor.inventor | โกสุม จันทร์ศิริ | - |
dc.contributor.inventor | สมชาย สัตติวัฒนกุล | - |
dc.contributor.inventor | สุพัตรา อารีกิจ | - |
dc.contributor.inventor | ทายาท ศรียาภัย | - |
dc.contributor.inventor | ธงชัย แก้วพินิจ | - |
dc.contributor.inventor | พิชาภัค สมยูรทรัพย์ | - |
dc.contributor.inventor | ศิริรัตน์ วชิรเลอพันธุ์ | - |
dc.contributor.assignee | สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร | - |
dc.contributor.assignee | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ | - |
dc.identifier.patentnumber | 14785 | - |
dc.description.abstractthai | การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับชุดของไพรเมอร์ (primer) และตัวตรวจจับสำเร็จรูป หรือ โพรบ (probe) สังเคราะห์ ที่อยู่บนอนุภาคนาโนของโลหะทองคำ (Gold nanoparticles DNA probe) โดยใช้ยีน ฟอสโฟไลเพส ซี (Phospholipase C), วิธีการตรวจสารพันธุกรรม และชุดตรวจสารพันธุกรรมสำหรับ การตรวจหาเชื้อแบคทีเรียลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส CListeria monocytogenes) ในอาหาร โดยการ ออกแบบไพรเมอร์และตัวตรวจจับสำเร็จรูปที่ติดฉลากบนผิวอนุภาคทองคำ สำหรับตรวจเชื้อลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส (Listeria monocytogenes) 4 เส้น จากลำดับเบสในส่วนของยีนฟอสโฟไลเพส ซี (Phospholipase C) ที่จำเพาะต่อเชื้อลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส (Listeria monocytogenes) ซึ่งตัวตรวจจับ สำเร็จรูปจะติดฉลากด้วยไทออล (Thiol) และทำการติดฉลากบนผิวอนุภาคทองคำด้วยพันธะซัลไฟล์ ในระบบนี้ดีเอ็นเอเป้าหมายจะถูกเพิ่มปริมาณภายใต้อุณหภูมิ 60-70 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ในกล่องให้ความร้อน (heating block) หลังจากนั้นนำผลิตภัณฑ์แลมป์ (LAMP products) ไปทำ ปฏิกิริยากับตัวตรวจจับสำเร็จรูปที่ติดฉลากบนผิวอนุภาคทองคำ (Gold nanoparticles DNA probe) ที่ ออกแบบอย่างจำเพาะต่อผลิตภัณฑ์แลมป์ (LAMP products) แล้วให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 50 องศา เซลเซียส ต่ออีก 10 นาที ต่อจากนั้นเติมสารละลายเกลือแมกนีเซียมซัลเฟต ลงไปในสารละลาย รอเวลา 5-15 นาที แล้วอ่านผลการตรวจ | - |
Appears in Collections: | Patents |
Files in This Item:
File | Size | Format | |
---|---|---|---|
patent1603002583.pdf | 2.57 MB | View/Open |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.