Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22077
ชื่อเรื่อง: กระบวนการลดการหมองเครื่องประดับโลหะเงินด้วยกระบวนการไอออนอิมพลานเตชัน
Assignee: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
Inventors: ดวงแข บุตรกูล
เสวต อินทรศิริ
เบญญา เชิดหิรัญกร
Keywords: สิทธิบัตร
วันที่เผยแพร่: 2563
สำนักพิมพ์: กรมทรัพย์สินทางปัญญา
Abstract(TH): กระบวนการลดการหมองเครื่องประดับโลหะเงินด้วยกระบวนการไอออนอิมพลานเตชันตามการประดิษฐ์นี้อยู่ในระบบสุญญากาศ โดยจัดให้มีการปรับปรุงคุณภาพเครื่องประดับโลหะเงินที่ผ่านการขึ้นรูปแบบต่างๆ โดยใช้เครื่องไอออนอิมพลานเตอร์ที่สามารถสร้างไนโตรเจนไอออน และอาบลงบนเครื่องประดับเงินโดยตรง ระดับพลังงานที่ถ่ายเทพร้อมกับเคลือบผิวบางให้กับผิวของโลหะอยู่ในเรือน70-100 กิโลอิเลคดรอนโวลย์ เพื่อให้เกิดการปรับปรุงสมบัติเชิงกลที่ผิวโลหะเงินโดยการเคลือบผิวบางทำให้ทนทานการขูดขีด ไม่เกิดการหมองคลํ้าเมื่อใช้งานและทนต่อสารเคมีไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสีของโลหะเงิน คงความแวววาวที่ผิวโลหะเงิน มีความแข็งแรง ลดความสึกหรอ และการเกิดสนิมความสำคัญของกระบวนการนี้ คือจะไม่ทำลายผิวของโลหะ ยังคงรักษาลวดลายที่ได้จากการขึ้นรูปแบบต่างๆ ทั้งนี้ในสภาวะการใช้งานปรกติเครื่องประดับโลหะเงินนั้นจึงถือเป็นการปรับปรุงผิวอย่างถาวรและเป็นการเพิ่มมูลค่าที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้และผู้ผลิต ------------ หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ กระบวนการลดการหมองเครื่องประดับโลหะเงินด้วยกระบวนไอออนอิมพลานเตชันตามการประดิษฐ์นี้ อยู่ในระบบสุญญากาศ โดยดัดให้มีการปรับปรุงคุณภาพเครื่องประดับโลหะเงินที่ผ่านการขึ้นรูปแบบ ต่างๆ โดยใช้เครื่องไอออนอิมพลานเตอร์ที่สามารถสร้างไนโตรเจนไอออน และอาบลงบนเครื่องประดับ เงินโดยตรง ระดับพลังงานที่ถ่ายเทพร้อมดับเคลือบผิวบางให้ดับผิวของโลหะอยู่ในเรือน 70-100 กิโล อิเลคดรอนโวลย์ เพื่อให้เกิดการปรับปรุงสมบัติเชิงกลที่ผิวโลหะเงินโดยการเคลือบผิวบาง ทำให้ทนทาน การขูดขีด ไม่เกิดการหมองคลํ้าเมื่อใช้งานและทนต่อสารเคมีไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสีของโลหะ เงิน คงความแวววาวที่ผิวโลหะเงิน มีความแข็งแรง ลดความสึกหรือ และการเกิดสนิม ความสำคัญของ กระบวนการนี้ คือจะไม่ทำลายผิวของโลหะ ยังคงรักษาลวดลายที่ได้จากการขึ้นรูปแบบต่างๆ ทั้งนี้ใน สภาวะการใช้งานปรกติเครื่องประดับโลหะเงินนั้นจึงถือเป็นการปรับปรุงผิวอย่างถาวรและเป็นการเพิ่ม มูลค่าที่ไม่เป็นอันตรายต่อผู้ใช้และผู้ผลิต
URI: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22077
Appears in Collections:Patents

Files in This Item:
File SizeFormat 
patent1801003771.pdf830.06 kBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.