Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22076
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.date.accessioned2022-06-17T00:54:53Z-
dc.date.available2022-06-17T00:54:53Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22076-
dc.languageth-
dc.publisherกรมทรัพย์สินทางปัญญา-
dc.subjectสิทธิบัตร-
dc.titleกระบวนการผลิตข้าวเสริมแคลเซียมด้วยวิธีการเคลือบ-
dc.typePatent-
dc.contributor.inventorพรทิพย์ ศิริสุนทราลักษณ์-
dc.contributor.inventorอดุลย์ ศุภนัท-
dc.contributor.assigneeมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ-
dc.identifier.patentnumber11749-
dc.description.abstractthaiกระบวนการผลิตข้าวเสริมแคลเซียมด้วยวิธีการเคลือบ มีขั้นตอนดังนี้ นำข้าวสารพันธุ์ขาวดอกมะลิ มาฉีดพ่นสารละลายแคลเซียมแลกเตตพร้อมกับเป่าลมร้อนจนแห้ง และฉีดพ่นทับด้วยสารเคลือบ ชนิดเพกทินที่มีเมทอกซิลต่ำพร้อมกับเป่าลมร้อนจนแห้ง โดยทำซ้ำ 3 รอบ จากนั้นนำข้าวสารเข้าเตาอบ ลมร้อนและทำแห้ง แก้ไข 8/09/2558 กระบวนการผลิตข้าวเสริมแคลเซียมด้วยวิธีการเคลือบ มีขั้นตอนดังนี้ นำข้าวสารพันธุ์ขาวดอก มะลิ มาฉีดพ่นสารละลายแคลเซียมแลกเตตพร้อมกับเป่าลมร้อนจนแห้ง และฉีดพ่นทับด้วยสารเคลือบ ชนิดเพกทินที่มีเมทอกซิลต่ำพร้อมกับเป่าลมร้อนจนแห้ง โดยทำซ้ำ 3 รอบ จากนั้นนำข้าวสารเข้าเตาอบ ลมร้อนและทำแห้ง ------------------------ กระบวนการผลิตข้าวเสริมแคลเซียมด้วยวิธีการเคลือบ ประกอบด้วยข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ (ปริมาณความชื้น 12-13 เปอร์เซ็นต์ ) 100 กรัม สารละลายแคลเซียมแลกเตต ปริมาณ 45 มิลลิลิตร (เตรียมจากการชั่งน้ำหนักแคลเซียมแลกเตต 3.7 กรัม ผสมกัน้ำกลั่น 45 มิลลิลิตร ) สารเคลือบชนิด low methoxy pectin (LM Pectin) ความเข้มข้น 0.1% ( น้ำหนัก/ปริมาตร ) ปริมาณ 6 มิลลิลิตร โดย นำมาผ่านกระบวนฉีดพ่นด้วยสารละลายแคลเซียมแลกเตต และเครือบด้วยสาร ชนิด low methoxy pectin (LM Pectin ) จนกระทั่งนำเข้าเตาอบลมอันเป็นขั้นสุดท้าย ซึ่งที่จะทำให้ได้ข้าวเสริม แคลเซียมด้วยวิธีการเคลือบ-
Appears in Collections:Patents

Files in This Item:
File SizeFormat 
patent1403000692.pdf1.07 MBPDFView/Open


Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.