Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22012
Title: | กรรมวิธีการตรวจสอบเบสกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) บนยีนไอเอ็นเอชเอ (inhA) ด้วยแถบสีในขั้นตอนเดียว |
Assignee: | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
Inventors: | ธงชัย แก้วพินิจ สมชาย สันติวัฒนกุล จัตุรงค์ ขำดี สมศักดิ์ เหรียญทอง พิสุทธิ์ พัฒนาอุตสาหกิจ |
Keywords: | สิทธิบัตร |
Issue Date: | 2564 |
Publisher: | กรมทรัพย์สินทางปัญญา |
Abstract(TH): | กรรมวิธีการตรวจสอบเบสกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) บนยีนไอเอ็นเอชเอ (inhA) ด้วยแถบสีในขั้นตอนเดียว เริ่มจากการออกแบบไพรเมอร์ 5 เส้น ที่จำเพาะต่อลำดับเบสของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) ที่มีเบสกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง โพรโมเตอร์ (promoter) ที่ 15 ซึ่งเบส ซีเปลี่ยนเป็นเบสที (C-15-T) ของยีนไอเอ็นเอชเอ (inhA) ซึ่งโดยให้ไพรเมอร์ 1 เส้นติดฉลากด้วยไบโอติน (biotin)หรือไดกอกซิเจนิน (Digoxigenin) และให้ไพรเมอร์อีก 1 เส้นติดฉลากด้วยสารเรืองแสง (FITC) ในการติดตามปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นบนแผ่นดิพสติค (dipstick) ในระบบนี้ดีเอ็นเอเป้าหมายจะถูกเพิ่มปริมาณภายใต้อุณหภูมิอุณหภูมิ 61 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ในกล่องให้ความร้อน (heating block) แล้วอ่านผลบนแผ่นดิพสติค (dipstick) เมื่อให้ผลบวก จะปรากฏเส้นทดสอบสีชมพู บริเวณแถบทดสอบ (T) และแถบควบคุม (C) แสดงว่าในตัวอย่างพบเบสกลายพันธุ์ที่ตำแหน่งโพรโมเตอร์ (promoter) ที่ 15 ซึ่งเบส ซี เปลี่ยนเป็นเบสที (C-15-T) ของยีนไอเอ็นเอชเอ (inhA) แต่ถ้าผลลบ จะปรากฏเส้นทดสอบสีชมพู เฉพาะแถบควบคุม (C) เท่านั้น วิธีการนี้เทียบเท่ากับการตรวจสอบด้วยเทคนิคพีซีอาร์ (PCR) แบบเรียลไทม์ (real time) อีกทั้งยังไม่ต้องใช้เครื่องพีซีอาร์(PCR) และเครื่องแยกสารพันธุกรรมด้วยกระแสไฟฟ้าในการติดตามผลของปฏิกิริยา ------------ หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ กรรมวิธีการตรวจสอบเบสกลายพันธุของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) บนยีนไอเอ็นเอช เอ (inhA) ด้วยแถบสีในขั้นตอนเดียว เริ่มจากการออกแบบไพรเมอร์ 5 เส้น ที่จำเพาะต่อลำดับเบสของเชื้อวัณโรค ดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) ที่มีเบสกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง โพรโมเตอร์ (promoter) ที่ 15 ซึ่งเบส ซี เปลี่ยนเป็นเบสที (C-15-T) ขอยีนไอเอ็นเอชเอ (inhA) ซึ่งโดยให้ไพรเมอร์ 1 เส้นติดฉลากด้วยไบโอติน (biotin) หรือไดกอกซิเจนิน (Digoxigenin) และให้ไพรเมอร์อีก 1 เส้นติดฉลากด้วยสารเรืองแสง (FITC) ในการติดตาม ปฏิกิริยาที่เกิดชื้นบนแผ่นดิพสติค (dipstick) ในระบบนี้ดีเอ็นเอเป๋าหมายจะถูกเพิ่มปริมาณภายใต้อุณหภูมิ อุณหภูมิ 61 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ในกล่องให้ความร้อน (heating block) แล้วอ่านผลบนแผ่นดิพส ติค (dipstick) เมื่อให้ผลบวก จะปรากฏเส้นทดสอบสีชมพู บริเวณแถบทดสอบ (T) และแถบควบคุม (C) แสดงว่า ในตัวอย่างพบเบสกลายพันธุ์ที่ตำแหน่งโพรโมเตอร์ (promoter) ที่ 15 ซึ่งเบส ซี เปลี่ยนเป็นเบสที (C-15-T) ของ ยีนไอเอ็นเอชเอ (inhA) แต่ถ้าผลลบ จะปรากฏเส้นทดสอบสีชมพู เฉพาะแถบควบคุม (C) เท่านั้น วิธีการนี้ เทียบเท่ากับการตรวจสอบด้วยเทคนิคพีซีอาร์ (PCR) แบบเรียลไทม์ (real time) อีกทั้งยังไม่ต้องใช้เครื่องพีซีอาร์ (PCR) และเครื่องแยกสารพันธุกรรมด้วยกระแสไฟฟ้าในการติดตามผลของปฏิกิริยา |
URI: | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/22012 |
Appears in Collections: | Patents |
Files in This Item:
File | Size | Format | |
---|---|---|---|
patent1803001302.pdf | 3.1 MB | View/Open |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.