Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/21971
Title: | กรรมวิธีการตรวจสอบเบสกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) ด้วยแถบสีในขั้นตอนเดียว |
Assignee: | มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
Inventors: | ธงชัย แก้วพินิจ สมชาย สันติวัฒนกุล จัตุรงค์ ขำดี สมศักดิ์ เหรียญทอง พิสุทธิ์ พัฒนาอุตสาหกิจ |
Keywords: | สิทธิบัตร |
Issue Date: | 2564 |
Publisher: | กรมทรัพย์สินทางปัญญา |
Abstract(TH): | กรรมวิธีการตรวจสอบเบสกลายพันธุ์ของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) ด้วยแถบสีในขั้นตอนเดียว เริ่มจากการออกแบบไพรเมอร์ 5 เส้น ที่จำเพาะต่อลำดับเบสของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด(isoniazid) ที่มีเบสกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง 315 (G-->C) ของยีนแคพจี (katG) ซึ่งโดยให้ไพรเมอร์ 1 เส้นติดฉลากด้วยไบโอติน (biotin) หรือไดกอกซิเจนิน (Digoxigenin) และให้ไพรเมอร์อีก 1 เส้นติดฉลากด้วยสารเรืองแสง(FITC) ในการติดตามปฏิกิริยาที่เกิดชื้นบนแผ่นดิพสติค (dipstick) ในระบบนี้ดีเอ็นเอเป้าหมายจะถูกเพิ่มปริมาณภายใต้อุณหภูมิอุณหภูมิ 61 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ในกล่องให้ความร้อน (heating block) แล้วอ่านผลบนแผ่นดิพสติค (dipstick) เมื่อให้ผลบวก จะปรากฏเส้นทดสอบสีชมพู บริเวณแถบทดสอบ (T) และแถบควบคุม (C) แสดงว่า ในตัวอย่างพบเบสกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง 315 (G-->C) ของยีนแคทจี (katG) แต่ถ้าผลลบ จะปรากฏเส้นทดสอบสีชมพู เฉพาะแถบควบคุม (C) เท่านั้น วิธีการนี้เทียบเท่ากับการตรวจสอบด้วยเทคนิคพีซีอาร์(PCR) แบบเรียลไทม์ (real time) อีกทั้งยังไม่ต้องใช้เครื่องพีซีอาร์ (PCR) และเครื่องแยกสารพันธุกรรมด้วยกระแสไฟฟ้าในการติดตามผลของปฏิกิริยา ------------ หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ กรรมวิธีการตรวจสอบเบสกลายพันธุของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) ด้วยแถบสีใน ขั้นตอนเดียว เริ่มจากการออกแบบไพรเมอร์ 5 เส้น ที่จำเพาะต่อลำดับเบสของเชื้อวัณโรคดื้อต่อยาไอโซไนอะซิด (isoniazid) ที่มีเบสกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง 315 (G(สัญลักษณ์)c) ของยีนแคทจี (katG) ซึ่งโดยให้ไพรเมอร์ 1 เส้นติดฉลาก ด้วยไบโอติน (biotin) หรือไดกอกซิเจนิน (Digoxigenin) และให้ไพรเมอร์อีก 1 เส้นติดฉลากด้วยสารเรืองแสง (FITC) ในการติดตามปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นบนแผ่นดิพสติค (dipstick) ในระบบนี้ดีเอ็นเอเป้าหมายจะถูกเพิ่มปริมาณ ภายใต้อุณหภูมิอุณหภูมิ 61 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ในกล่องให้ความร้อน (heating block) แล้วอ่าน ผลบนแผ่นดิพสติค (dipstick) เมื่อให้ผลบวก จะปรากฏเส้นทดสอบสีชมพู บริเวณแถบทดสอบ (T) และแถบ ควบคุม (C) แสดงว่า ในตัวอย่างพบเบสกลายพันธุ์ที่ตำแหน่ง 315 (G(สัญลักษณ์)C) ของยีนแคทจี (katG) แต่ถ้าผลลบ จะ ปรากฏเส้นทดสอบสีชมพู เฉพาะแถบควบคุม (C) เท่านั้น วิธีการนี้เทียบเท่ากับการตรวจสอบด้วยเทคนิคพีซีอาร์ (PCR) แบบเรียลไทม์ (real time) อีกทั้งยังไม่ต้องใช้เครื่องพีซีอาร์ (PCR) และเครื่องแยกสารพันธุกรรมด้วย กระแสไฟฟ้าในการติดตามผลของปฏิกิริยา |
URI: | https://ir.swu.ac.th/jspui/handle/123456789/21971 |
Appears in Collections: | Patents |
Files in This Item:
File | Size | Format | |
---|---|---|---|
patent1803001301.pdf | 2.53 MB | View/Open |
Items in SWU repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.